Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2525
Title: Aesthetics within Architecture of Chef’s Tables
สุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรมการเสพอาหาร Chef’s Tables 
Authors: Wasana SITTI-ISSARA
วาสนา สิทธิอิสระ
Tonkao Panin
ต้นข้าว ปาณินท์
Silpakorn University. Architecture
Keywords: สุนทรียศาสตร์
สุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรม
สภาวะบรรยากาศ
สุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรมของ Schopenhauer
อาหารจานลายเซ็น
การวิจัยแบบสหวิทยาการ
ปรากฏการณ์วิทยาทางสถาปัตยกรรมของสันต์ สุวัจฉราภินันท์
Aesthetics
Architecture of Chef’s Tables
Zumthor’s Atmosphere
Schopenhauer Aesthetics in Architecture
Marco Navarra: Section Analysis
Aesthetics in Architecture
Spatial Perception Simulacrum
Chef’s Table
Interdisciplinary Research
Architectural Phenomenology of Sant Suwatcharapinun
Issue Date:  18
Publisher: Silpakorn University
Abstract:   "Aesthetics within Architecture of Chef’s Tables” aims to examine the “architectural atmosphere” through the form of “Chef’s Table (a kind of restaurant served, prepared, and performed by the celebrity chef in a specific tasting menu),” with a variety of artistic elements and activities. The primary question concerns aesthetics in architecture. The method used in this study takes the form of Baconian induction as a framework through analysis and synthesis using content analysis and case studies from documentary films, interviews, and my own experience. “Spatial Perception Simulacrum'' a study conducted by Pedro M. Azevedo Rocha, is a built-in framework that shows results in distance perceptions. The analysis of the far interspace was inspired by Marco Navarra: Section Analysis, which is the similar analysis on "Architecture as Archaeology Research.” The closer distance is analyzed by “Schopenhauer Aesthetics in Architecture” method, parallel to the six approaches entering the Architectural Phenomenology of Sant Suwatcharapinun. All the data are compared, both in terms of objective and subjective values. The research results extend the “Zumthor’s Atmosphere” and consist of 1) Transitional Space in Architecture; 2) A sense of place; 3) Surrounding Objects/Scene Elements; 4) Sensory Vibes; and 5) Sequences.
งานวิจัย “สุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรมการเสพอาหาร Chef’s Tables” เป็นการศึกษา “บรรยากาศ” ในงานสถาปัตยกรรมผ่านรูปแบบกิจกรรมการเสพอาหารในร้านอาหารจานลายเซ็น Chef’s Table (ประเภทหนึ่งของร้านอาหารที่มีการสร้างสรรค์นำเสนอเมนูที่จัดมาเป็นคอร์ส มีการเตรียมการ เสริฟ และดำเนินการโดยเชฟที่มีชื่อเสียง) ที่มีองค์ประกอบทางศิลปะหลากหลาย เป็นการตั้งคำถามในเรื่องของสุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรม วิธีการดำเนินงานวิจัยเป็นไปในรูปแบบของการหาความรู้แบบอุปนัย Induction ตามหลักการของ Francis Bacon เป็นกรอบใหญ่ผ่านการวิเคราะห์และสังเคราะห์ในกรณีศึกษาจากสารคดี ประสบการณ์ด้วยตัวเอง และจากการสัมภาษณ์ มีแนวทางของมิติการรับรู้ในเชิงที่ว่าง Spatial Perception Simulacrum ที่เป็นงานวิจัยโดย Pedro M. Azevedo Rocha เป็นกรอบใน ส่งผลให้เกิดการรับรู้ในระยะไกลและใกล้ ซึ่งในระยะที่ไกลออกไปทำการสังเคราะห์ออกมาเป็นรูปตัด 3 รูปแบบตามแนวทางของ Marco Navarra: Section Analysis ที่เป็นรูปแบบเดียวกับ “Architecture as Archaeology Research” และระยะใกล้ด้วยหลักการสุนทรียศาสตร์ในสถาปัตยกรรมของ Schopenhauer ร่วมกับ 6 แนวทางเบื้องต้นในการเข้าสู่ปรากฏการณ์วิทยาทางสถาปัตยกรรมของสันต์ สุวัจฉราภินันท์ ข้อมูลที่ได้ทั้งหมดนำมาเปรียบเทียบทั้งในส่วนของคุณค่าเชิงวัตถุวิสัย/ภววิสัย Objective Value และคุณค่าเชิงจิตวิสัย Subjective Value มีข้อค้นพบประกอบด้วย 1) พื้นที่ต่อเชื่อมในงานสถาปัตยกรรม Transitional Space in Architecture;  2) ความเป็นถิ่นที่ A Sense of Place;  3) องค์ประกอบฉาก Surrounding Objects/Scene Elements; 4) บรรยากาศแห่งผัสสะ Sensory Vibes;  5) การร้อยเรียงของลำดับ Sequences ซึ่งเป็นการต่อยอดให้กับแนวทาง “สภาวะบรรยากาศ” Atmosphere ของ Peter Zumthor
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D.)
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2525
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59054905.pdf11.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.