Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNawarat PEDPUANGPIPATen
dc.contributorนวรัตน์ เพชรพวงพิพัฒน์th
dc.contributor.advisorSinghanat Sangsehanaten
dc.contributor.advisorสิงหนาท แสงสีหนาทth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2020-08-04T03:38:42Z-
dc.date.available2020-08-04T03:38:42Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2528-
dc.descriptionMaster of Urban and Environmental Planning (M.U.E.P)en
dc.descriptionการวางแผนชุมชนเมืองและสภาพแวดล้อมมหาบัณฑิต (ผ.ม.)th
dc.description.abstract“What are the principles or the guidelines of an appropriate making of landmark which is valuable for conservation or development.” This question has led to the research in order to discover the research finding by studying literature of cultural landscape, urban landscape, and landmark. The results of research were: Studying and understanding local history, tradition, and lifestyle of people in an urban area are essential. Because it leads to a planning and designing of the landmark which is a desirable sign for an urban area and give expression to the belief, culture, and vernacular architecture. That will result in valuable landmark, urban identity, image of the city and impression of visitors. Becoming a desirable landmark should have 10 valuables: aesthetical value, economic value, social value, spiritual value, historical value, self-identity value, environmental value, technological value, educational value, and functional value. The research found that The Phraya Khan Khak Museum, the landmark of Yasothon province, has economic value, spiritual value, self-identity value, educational value, and functional value. However, the landmark should be added aesthetic value, social value, historical value, environmental value, and technological value to be the desirable landmark. The benefits of the research were the guidelines of an appropriate designing of landmark which is valuable for conservation or development and the example of the landmark evaluation.en
dc.description.abstractการนำเสนอภูมิสัญลักษณ์ที่มีคุณค่าสำหรับการอนุรักษ์หรือพัฒนาและเป็นที่ยอมรับได้ในมิติต่าง ๆ มีหลักการหรือแนวทางอย่างไร เป็นคำถามที่นำไปสู่การวิจัยเพื่อค้นหาคำตอบ โดยการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวเนื่องทั้งภูมิทัศน์วัฒนธรรม ภูมิทัศน์เมือง และภูมิสัญลักษณ์             ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ประเพณี และวิถีชีวิตของคนในพื้นที่เป็นเรื่องสำคัญยิ่งต่อการที่จะสร้างหรือนำเสนอภูมิสัญลักษณ์ที่มีคุณค่าครบทุกด้าน เพราะข้อมูลเหล่านั้นจะนำไปสู่การวางแผนและออกแบบภูมิสัญลักษณ์ที่เหมาะสมสำหรับเมือง สะท้อนให้เห็นเรื่องที่เกี่ยวกับความเชื่อ วัฒนธรรม สถาปัตยกรรมของกลุ่มชาติพันธ์นั้น ๆ อย่างสมบูรณ์ และเกิดภูมิสัญลักษณ์ที่มีเอกลักษณ์และทรงคุณค่า สร้างความประทับใจแก่ผู้มาเยือน เกิดภาพจำที่สวยงามและชัดเจน ภูมิสัญลักษณ์ที่เหมาะสมสำหรับการอนุรักษ์หรือพัฒนาและเป็นที่ยอมรับได้ในมิติต่าง ๆ พึงมีคุณค่าทั้งหมด 10 ด้าน ประกอบด้วย คุณค่าด้านสุนทรียศาสตร์ คุณค่าด้านเศรษฐกิจ คุณค่าด้านสังคม คุณค่าด้านจิตวิญญาณของชุมชน คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ คุณค่าด้านความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว คุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม คุณค่าด้านเทคโนโลยี คุณค่าด้านการศึกษา และคุณค่าด้านการใช้สอยร่วมสมัย การวิจัยได้นำเกณฑ์การประเมินภูมิสัญลักษณ์ทั้ง 10 ด้านนี้มาทำการวิเคราะห์พิพิธภัณฑ์พญาคันคาก ซึ่งเป็นภูมิสัญลักษณ์ในโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ลำน้ำทวนฝั่งขวา จังหวัดยโสธร พบว่าพิพิธภัณฑ์แห่งนี้มีความเด่นชัดในเรื่องของการมีคุณค่าด้านเศรษฐกิจ คุณค่าด้านจิตวิญญาณของชุมชน คุณค่าด้านความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว คุณค่าด้านการศึกษา คุณค่าด้านการใช้สอยร่วมสมัย และควรได้รับการออกแบบและสร้างสรรค์กิจกรรมที่ช่วยเพิ่มคุณค่าในด้านสุนทรียศาสตร์ คุณค่าด้านสังคม คุณค่าด้านประวัติศาสตร์ คุณค่าด้านสิ่งแวดล้อม และคุณค่าด้านเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มคุณค่าและศักยภาพให้กับตัวเอง ประโยชน์ที่ได้จากการวิจัยคือผลการศึกษาพิพิธภัณฑ์พญาคันคาก ภูมิสัญลักษณ์ของจังหวัดยโสธรช่วยชี้ให้เห็นแนวทางการสร้างภูมิสัญลักษณ์ที่เหมาะสมและตอบรับกับคุณค่าในมิติต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น รวมถึงเป็นตัวอย่างการพิจารณาภูมิสัญลักษณ์ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่กรณีศึกษาอื่นต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภูมิสัญลักษณ์th
dc.subjectภูมิทัศน์เมืองth
dc.subjectภูมิทัศน์วัฒธรรมth
dc.subjectLANDMARKen
dc.subjectURBAN LANDSCAPEen
dc.subjectCULTURAL LANDSCAPEen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.title A Study to Propose Guideline for Making Landmark of New Urban Landscape : Case Studies of The River Landscape Improvement Project of The Tuan River, Yasothonen
dc.titleการศึกษาแนวทางการนำเสนอภูมิสัญลักษณ์ในภูมิทัศน์ใหม่ของเมือง : กรณีศึกษา โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ลำน้ำทวนฝั่งขวา จังหวัดยโสธรth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59058305.pdf7.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.