Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2539
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKesinee SRIWONGSAen
dc.contributorเกศินี ศรีวงค์ษาth
dc.contributor.advisorRUNGROJ THAMRUNGRAENGen
dc.contributor.advisorรุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรืองth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Archaeologyen
dc.date.accessioned2020-08-05T02:26:10Z-
dc.date.available2020-08-05T02:26:10Z-
dc.date.issued12/6/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2539-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractAbstract This research aims to analyze Phra That Phanom stupa and Phra That Phanom replica. To reflect the importance of Phra That Phanom stupa using research methods in art history. The research found that Phra That Phanom stupa was built in the period of Sri Khotaboon Kingdom around the 13th-14th Buddhist centuries according to the art form which combines Dvaravati art, Khmer art and Cham art to enshrine the Buddha's relics. The specific area is set according to the universe and is an ancient trade community. Therefore it became a center of Buddhism in the Mekong river. The Lan Chang Kingdom period, Phra That Phanom stupa became a prominent political participant in the early the 22nd century Buddhist, when the king Chai Chetthathirat restored the top part of the lotus flower shaped in square pyramid form or Bua Liam style to the identity of Lan Chang art and it became one of the Lan Chang art. And in the early the 23rd century Buddhist, Phrakhru Luang Phonsamek restored the crown of metal Bua Liam top to strengthen up the power for the royal lineage.        The Rattanakosin period, the renovation of the Phra That Phanom stupa decorated round flower motifs on the Bua Liam peak at the end of the 24th century Buddhist, after the war of Chao Anuwong in King Rama III, in order to govern the Lao Lan Chang people with better interaction. In the early 25th century Buddhist, the replica of Phra That Phanom was firstly created by King Pinklao based on his interest and to protect the land from colonization. During King Rama V, the restoration of Phra That Phanom stupa preserved the right side of the Mekong river and assimilated into one with Siam. As well as disseminating the concept of the  Phra That Phanom replica to the northeastern region by the Prince Damrong Rajanubhab as a result, began to build the Phra That Phanom replica during King Rama VI in the middle of the 25th century Buddhist and popularized by having a Garuda logo used in the Siamese government and spread to the central region with the foundation of Lao Lan Chang culture. Therefore creating identity for the Siamese Laotian people of Siam Indicate belief and faith to Phra That Phanom stupa proceeded with the politics of Siam.     At the end of the 25th century Buddhist, the government of Field Marshal P. Pibulsongkram restored the top of Phra That Phanom stupa to be Thai. In order to persuade Indochina to join Thailand in accordance with the impetus of World War II. Phra That Phanom stupa became the identity of the northeast and is one of the Chedi of Thailand. However, persistence in the replica of Phra That Phanom continued in the Cold War. Until Phra That Phanom stupa collapsed and was rebuilt by King Rama IX, it was popular to build a new model of Phra That Phanom stupa in the northeastern region of Thailand including other regions and in Lao PDR. that reflects the faith of Phra That Phanom stupa and the King Rama IX, by the Buddhist Insight Meditation Network, therefore, the Phra That Phanom replica can be linked to relations within and outside the country based on the role of Phra That Phanom stupa. en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายศึกษาวิเคราะห์พระธาตุพนมและพระธาตุพนมจำลอง เพื่อสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของพระธาตุพนม โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์ศิลปะ ผลการวิจัยพบว่า พระธาตุพนมสร้างขึ้นในสมัยอาณาจักรศรีโคตรบูรราวพุทธศตวรรษที่ 13-14 ตามรูปแบบศิลปะที่ผสมผสานทั้งศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม และศิลปะจาม เพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ โดยมีพื้นที่ตั้งตามคติจักรวาลและเป็นชุมทางการค้าโบราณ จึงกลายเป็นศูนย์รวมทางพุทธศาสนาในลุ่มแม่น้ำโขง ครั้นสมัยอาณาจักรล้านช้างนำพระธาตุพนมเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองอย่างเด่นชัดในต้นพุทธศตวรรษที่ 22 เมื่อพระเจ้าไชยเชษฐาธิราชทรงบูรณะส่วนยอดให้เป็นบัวเหลี่ยมเอกลักษณ์ของศิลปะล้านช้าง จึงเป็นหนึ่งในศิลปกรรมล้านช้าง และต้นพุทธศตวรรษที่ 23 พระครูหลวงโพนสะเม็กก็ได้บูรณะครอบยอดบัวเหลี่ยมด้วยโลหะ เพื่อสร้างฐานอำนาจให้กับเชื้อสายกษัตริย์ สมัยรัตนโกสินทร์มีการบูรณะพระธาตุพนมประดับลายดอกไม้กลมบนยอดบัวเหลี่ยมช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 24 หลังจากศึกเจ้าอนุวงศ์ในรัชกาลที่ 3 เพื่อปกครองกลุ่มชนลาวล้านช้างด้วยปฏิสัมพันธ์อันดีขึ้น ต่อมาในรัชกาลที่ 4 ช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ก่อเกิดพระธาตุพนมจำลองขึ้นโดยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ตามพระราชนิยมและทรงปกป้องผืนแผ่นดินจากการล่าอาณานิคม ครั้นในรัชกาลที่ 5 การบูรณะพระธาตุพนมได้รักษาพื้นที่ฝั่งขวาแม่น้ำโขงและหลอมรวมให้เป็นหนึ่งเดียวกันกับสยาม พร้อมทั้งเผยแพร่แนวคิดการจำลองแบบพระธาตุพนมมายังภาคอีสานโดยสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ส่งผลให้เริ่มสร้างพระธาตุพนมจำลองในพื้นที่แห่งนี้ช่วงรัชกาลที่ 6 กลางพุทธศตวรรษที่ 25 และนิยมสืบมา โดยมีตราสัญลักษณ์รูปพระครุฑพ่าห์ที่ใช้ในทางราชการสยาม และแพร่ไปยังพื้นที่ภาคกลางที่มีรากฐานวัฒนธรรมลาวล้านช้าง จึงเป็นการสร้างตัวตนให้กับกลุ่มชนลาวล้านช้างของสยาม บ่งบอกถึงความเชื่อความศรัทธาต่อพระธาตุพนมดำเนินควบคู่กับการเมืองการปกครองสยาม     ครั้นรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามบูรณะส่วนยอดพระธาตุพนมให้เป็นอย่างไทยในปลายพุทธศตวรรษที่ 25 เพื่อชักจูงกลุ่มชนแถบอินโดจีนให้เข้าร่วมกับประเทศไทยตามแรงผลักดันของสงครามโลกครั้งที่ 2 พระธาตุพนมจึงกลายเป็นอัตลักษณ์ของภาคอีสานและหนึ่งในจอมเจดีย์แห่งประเทศไทย ทว่าเกิดความลักลั่นในการจำลองแบบพระธาตุพนมสืบมาสงครามเย็น กระทั่งพระธาตุพนมพังทลายและสร้างขึ้นใหม่โดยรัชกาลที่ 9 ถึงนิยมสร้างพระธาตุพนมจำลองอย่างองค์ใหม่แพร่หลายในภาคอีสาน รวมทั้งภูมิภาคอื่นๆ ของประเทศไทยและ สปป.ลาว สะท้อนความเชื่อความศรัทธาต่อพระธาตุพนมและรัชกาลที่ 9 โดยเครือข่ายทางพุทธศาสนาสายวิปัสสนากัมมัฏฐาน ฉะนั้นพระธาตุพนมจำลองจึงเชื่อมสัมพันธไมตรีทั้งภายในและภายนอกประเทศยึดโยงตามบทบาทของพระธาตุพนมth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectพระธาตุพนมth
dc.subjectพระธาตุพนมจำลองth
dc.subjectการจำลองแบบth
dc.subjectPhra That Phanomen
dc.subjectPhra That Phanom Replicaen
dc.subjectReplicaen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleTHE STUDY OF IMPORTANCE OF PRA THAT PHANOM THROUGH ITS REPLICAen
dc.titleการศึกษาความสำคัญของพระธาตุพนมผ่านการจำลองแบบth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57107902.pdf29.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.