Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2556
Title: THE CREATION OF ROYAL COURT LIKE JEWELRY OF GOLDSMITH NOWADAYS 
การสร้างสรรค์เครื่องประดับอย่างราชสำนักของช่างทองในปัจจุบัน
Authors: Ananthawat KHANTAPHAN
อนันทวัฒน์ ขันตะพันธ์
Patsaweesiri Preamkulanan
พัสวีสิริ เปรมกุลนันท์
Silpakorn University. Archaeology
Keywords: เครื่องประดับโบราณ
ช่างทอง
เครื่องประดับแบบราชสำนักโบราณ
ANTIQUES ACCESSORIES
goldsmith
jewelry
Issue Date:  12
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This independent study aim to study the works of present goldsmith who create the royal court like jewelry which inspired  by the Ayudaya and Ratanakosin ‘s court jewelry. Mr. Nibon Yodkampan, Mr. Pasit Saengsoda and Mr. Pairot Suabsam are the present goldsmith who create the royal court like jewelry by using material, technic, form and pattern of royal court jewelry. The study will be comparison the similarity and dissimilarity of the present works to the antique which presented in the grand palace museum, as its material, technic, from and pattern. The study found that present works have the inspiration from the Rattanakosin’s court jewelry, but Mr. Nipon’s works is different, there are Ayudaya’s characteristic in his works. There are modern machine and new material in their works to save time and cost, this will serve the demand of the present market.
การค้นคว้าอิสระมุ่งเน้นศึกษาผลงานของช่างทองปัจจุบันผู้สร้างสรรค์เครื่องประดับแบบราชสำนักโบราณโดยใช้แรงบันดาลใจจากเครื่องประดับในราชสำนักสมัยอยุธยาถึงรัตนโกสินทร์ ซึ่งจะศึกษาจากผลงานของนายนิพนธ์ ยอดคำปัน นายพิสิษฐ์ แสงโสดา และนายไพโรจน์ สืบสาม ทั้งสามท่านเป็นผู้สร้างสรรค์ผลงานเครื่องประดับโดยใช้วัสดุ เทคนิค รูปแบบ และลวดลายโบราณอย่างราชสำนัก โดยศึกษารูปแบบและลวดลายของเครื่องทองโบราณที่สร้างในปัจจุบันเปรียบเทียบกับเครื่องประดับโบราณในราชสำนักที่เคยได้รับการจัดแสดงอยู่ในศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญกษาปณ์ ในพระบรมมหาราชวัง เพื่อตรวจสอบรูปแบบและลวดลายของเครื่องประดับอย่างราชสำนักโบราณที่สร้างขึ้นในปัจจุบันว่ามีความเหมือน หรือแตกต่างจากของโบราณหรือไม่ อย่างไร ผลการศึกษาพบว่าทั้ง 3 กลุ่มตัวอย่างผลงานช่าง ได้แรงบันดาลใจหลักมาจากเครื่องประดับในราชสำนักรัตนโกสินทร์ ยกเว้นผลงานของนายนิพนธ์ที่มีความแตกต่างออกไป คือมีการใช้ลักษณะเด่นของเครื่องประดับในราชสำนักอยุธยาในการสร้างสรรค์งานปัจจุบันในสัดส่วนที่พอกันกับลักษณะของเครื่องประดับในราชสำนักรัตนโกสินทร์ ส่วนเทคนิควิธีการมีการใช้เครื่องทุนแรงสมัยใหม่มากขึ้นและใช้วัสดุทดแทนทองคำและอัญมณีแท้ อันเป็นการลดต้นทุนและมูลค่า ทำให้สามารถซื้อ – ขายได้อย่างคล่องตัวในยุคปัจจุบันที่ประชาชนทั่วไปสามารถซื้อหาหรือสั่งผลิตเพื่อตอบสนองความต้องการของตนได้
Description: Master of Arts (M.A.)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2556
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58107315.pdf9.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.