Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2711
Title: | THE LEARNING MANAGEMENT OUTCOME OF REALISTIC MATHEMATICSEDUCATION (RME) FOR PROMOTING MATHEMATICAL PROBLEMSOLVING ABILITY FOR MATHAYOMSUKSA 6 STUDENTS การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริงเพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 |
Authors: | Chanida JAMPAON ชนิดา จำปาอ่อน ISARET PIPATMONGKOLPORN อิศเรศ พิพัฒน์มงคลพร Silpakorn University. Education |
Keywords: | การจัดการเรียนรู้, ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ LEARNING MANAGEMENT/ MATHEMATICAL PROBLEM SOLVING ABILITY |
Issue Date: | 10 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) To compare the student’s learning achievement of mathematical skills before and after learning by using Realistic Mathematics Education,2) To study the development of mathematical problem-solving ability by using Realistic Mathematics Education, and 3) To study the satisfaction of Mathayomsuksa 6 students after learning through Realistic Mathematics Education. The sample group in this research were 23 students in Mathayomsuksa 6/1 at Danthaptakoratuppatham School in the first semester of academic year 2019. The research tools included 1) The Mathematics lesson plan in topic The Basic Data Analysis, 2) The Basic Data Analysis’s achievement tests, 3) The Basic Data Analysis’s mathematical problem-solving abilities test, and 4) The satisfaction questionnaire of students toward the Realistic Mathematics Education. The data were analyzed by means ), standard deviation (S.D.), and t-test dependent sample.
The results found that:
1. Mathayomsuksa 6 students who received the learning by using Realistic Mathematics Education got the post-test score higher than pre-test score with statistical significance at 0.05,
2. After learning by using Realistic Mathematics Education, the development of mathematical problem-solving ability of Mathayomsuksa 6 students was at the good level,
3. The satisfaction of Mathayomsuksa 6 students toward the learning through Realistic Mathematics Education was at the high level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 2)เพื่อศึกษาพัฒนาการของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง 3)เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน 23 คน โรงเรียนด่านทับตะโกราษฎร์อุปถัมภ์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์วิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อวิธีการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (X) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D. และทดสอบค่าที (t-test) แบบ dependent 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พัฒนาการของความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีโดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดการศึกษาคณิตศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับชีวิตจริง โดยภาพรวมนักเรียนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก |
Description: | Master of Education (M.Ed.) ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2711 |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58263304.pdf | 5.2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.