Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2745
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Papassara CHAMSAI | en |
dc.contributor | ปภัสรา แจ่มใส | th |
dc.contributor.advisor | Saranya Chanchusakun | en |
dc.contributor.advisor | สรัญญา จันทร์ชูสกุล | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Education | en |
dc.date.accessioned | 2020-08-14T02:56:14Z | - |
dc.date.available | 2020-08-14T02:56:14Z | - |
dc.date.issued | 12/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2745 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) | th |
dc.description.abstract | The purposes of this research were to 1) compare the learning achievements of fourth grade students before and after learning by the problem-based learning with infographics, 2) compare the mathematical communication ability of fourth grade students before and after learning by the problem-based learning with infographics and 3) study students’ satisfactions towards the problem-based learning with infographics. The research sample consisted of 38 fourth grade students from Chumchonwatyaiphohak (Pobenchamauthit) School. Cluster random sampling technique was employed for selecting; the classroom was a random unit. The instruments used for collecting data consisted of: 1) lesson plan, 2) an achievement test, 3) the ability test in mathematical communication and 4) the satisfaction questionnaire the effects of the problem-based learning with infographics on the mathematical communication ability. The statistics used to analyze the data were mean (M), standard deviation (SD) and dependent t-test. The results of the study were as follows. 1. The learning achievements of fourth grade students after learning by the problem-based learning with infographics (M = 16.66, SD = 3.73) higher than before learning (M = 8.55, SD = 3.00) at the significance level of .05. 2. The mathematical communication ability of fourth grade students after learning by the problem-based learning with infographics (M = 26.92, SD = 5.35) higher than before learning (M = 11.79, SD = 3.61) at the significance level of .05. 3. The satisfactions of fourth grade students towards the problem-based learning with infographics were very high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ก่อนและหลัง ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับ สื่ออินโฟกราฟิก กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 38 คน ของโรงเรียนชุมชนวัดใหญ่โพหัก (โพธิ์เบญจมอุทิศ) ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (cluster random sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยการสุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 3) แบบวัดความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย (M) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และค่าสถิติทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test dependent) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก (M = 16.66 , SD = 3.73) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ (M = 8.55 , SD = 3.00) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 หลังได้รับ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก (M = 26.92 , SD = 5.35) สูงกว่าก่อนการจัดการ เรียนรู้ (M = 11.79 , SD = 3.61) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิก มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | สื่ออินโฟกราฟิก | th |
dc.subject | mathematical communication ability | en |
dc.subject | problem-based learning | en |
dc.subject | infographics | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.title | THE EFFECTS OF THE PROBLEM-BASED LEARNING WITH INFOGRAPHICS ON THE MATHEMATICAL COMMUNICATION ABILITY OF FOURTH GRADE STUDENTS | en |
dc.title | ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับสื่ออินโฟกราฟิกที่มีต่อความสามารถในการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59263308.pdf | 4.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.