Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2748
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTheewara PLATAPIANTONGen
dc.contributorธีร์วรา ปลาตะเพียนทองth
dc.contributor.advisorPatteera Thienpermpoolen
dc.contributor.advisorภัทร์ธีรา เทียนเพิ่มพูลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2020-08-14T02:56:15Z-
dc.date.available2020-08-14T02:56:15Z-
dc.date.issued10/7/2020
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2748-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of the research were to: 1) compare the students’ vocabulary learning achievement before and after learning by mnemonics and vocabulary books; 2) explore the students’ opinions toward teaching by using mnemonics and vocabulary picture books and 3) study the retention of students after learning by using mnemonics and vocabulary picture books. The sample was 33 grade 6 students at Anuban Nakhon Pathom School. They were randomly selected. The duration of the experiment was 2 weeks. The instruments consisted of: 1) a survey from vocabulary; 2) lesson plans; 3) a vocabulary test and 4) a questionnaire on opinions toward learning by using mnemonics and vocabulary picture books. The research results were: 1) the students’ vocabulary learning achievement after using mnemonics and vocabulary picture books was significantly higher than before at the .05 level; 2) the students’ opinions toward teaching vocabulary using mnemonics and vocabulary picture books were at the highest level and 3) the students’ retention in teaching vocabulary using mnemonics and vocabulary picture books was not different from the post-test.en
dc.description.abstractการวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ด้านคำศัพท์ของนักเรียนก่อนและหลังการสอนโดยใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์  2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษต่อการสอนโดยใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ และ 3) เพื่อศึกษาความคงทนในการจำคำศัพท์ หลังการเรียนโดยใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่  6 โรงเรียนอนุบาลนครปฐม จำนวน  33 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 2 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) แบบสำรวจคำศัพท์ที่เหมาะสมกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 2) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ 3) แบบทดสอบประเมินความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษก่อนและหลังเรียน จำนวน 20 ข้อและใช้เพื่อวัดความคงทนในการจำคำศัพท์ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยการสอนโดยใช้เทคนิค ช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้คำศัพท์โดยการใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครปฐมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ .05 2) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครปฐมที่มีต่อการเรียนภาษาอังกฤษโดยเทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ โดยภาพรวมทั้งหมดมีระดับความคิดเห็น เห็นด้วยมากที่สุด 3) ความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์โดยการใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครปฐมไม่แตกต่างกันกับการทดสอบหลังเลิกเรียนth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์th
dc.subjectผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ด้านคำศัพท์และความคงทนth
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.subjectMNEMONICS AND VOCABULARY BOOKSen
dc.subjectENGLISH VOCABULARY ACHIEVEMENT AND RETENTIONen
dc.subjectGRADE 6 STUDENTSen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF VOCABULARY LEARNING ACHIEVEMENT AND RETENTION USING MNEMONICS AND VOCABULARY PICTURE BOOKS FOR GRADE 6 STUDENTS OF ANUBAN NAKHON PATHOM SCHOOLen
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ด้านคำศัพท์และความคงทนโดยใช้เทคนิคช่วยจำร่วมกับสมุดภาพคำศัพท์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลนครปฐมth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60254304.pdf2.17 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.