Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2841
Title: BEHAVIOR AND TECHNOLOGY ACCEPTANCE ON MOBILE BANKING SERVICES OF GENERATION X USERS IN BANGKAE DISTRICT IN BANGKOK
พฤติกรรมและการยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือของผู้ใช้บริการกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร
Authors: Wichada MAINGOENNGAM
วิชาดา ไม้เงินงาม
SAWANYA THAMMAAPIPON
สวรรยา ธรรมอภิพล
Silpakorn University. Management Sciences
Keywords: การยอมรับเทคโนโลยี
การใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ
ผู้ใช้บริการกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์
พฤติกรรม
Technological acceptance
Mobile banking
Generation X user
Behavior
Issue Date:  12
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research aimed to study 1) study about customer’s behavior of using on mobile banking 2) study the acceptance of technology using mobile banking and 3) study the problems and barriers for technology using mobile banking acceptation. This research using questionnaire with the sample group of mobile banking (Krungthai Next) and belong to Generation X 400 users. Analyzed using statistics, percentage, standard deviation, and 10 interviewees of mobile banking customers (Krungthai Next) who are Generation X users in Bangkae, Bangkok. Data obtained were then analyzed to generate conclusions and to present results of this study in the descriptive form. The results found that the most of the sample is female, aged of 39-42 years old, bachelor degree, married status, private employee and has an income of 10,001 - 20,000 bath per month. The most of customer’s behavior of using mobile banking that related with money transfers, 1-3 times per week, 12.00 pm. to 5.59 pm. amount 1,001-3,000 bath per time, advised by the bank staff, the convenience and can be used anywhere, anytime is the reason for using mobile banking. The perceived usefulness about the acceptance of technology for using mobile banking that is the highest level, attitude towards using, and perceived ease of use. For the problems and barriers in using mobile banking service, is about the screen display and complex operating systems, Including concerns in the safety and stability of the system.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ 2) ศึกษาการยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ และ 3) ศึกษาปัญหาและอุปสรรค การยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ ดำเนินการศึกษาโดยใช้แบบสอบถามกับกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มผู้ใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ (Krungthai Next Mobile Banking) และอยู่ในกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักที่เป็นผู้ใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ (Krungthai Next Mobile Banking) อยู่ในกลุ่มเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ในเขตบางแค กรุงเทพมหานคร จำนวน 10 คน วิเคราะห์เนื้อหา สรุปผลการศึกษา และนำเสนอในรูปแบบการพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 39-42 ปี การศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรี สถานภาพสมรส อาชีพพนักงานบริษัท/ลูกจ้างเอกชน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท พฤติกรรมการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ พบว่าใช้เพื่อการโอนเงินมากที่สุด เฉลี่ย 1-3 ครั้ง/สัปดาห์ ใช้บริการในช่วงเวลา 12.00-17.59 น. โดยยอดเงินที่ใช้บริการอยู่ที่ 1,001–3,000 บาท/ครั้ง ใช้บริการจากการแนะนำของพนักงานธนาคาร ตัดสินใจใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ เพราะมีความสะดวก ใช้ได้ทุกที่ ทุกเวลา การยอมรับเทคโนโลยีการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ ด้านการรับรู้ถึงประโยชน์ในการใช้งาน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านทัศนคติที่มีต่อการใช้งาน และด้านการรับรู้ความยากง่ายในการใช้งาน ตามลำดับ ปัญหาและอุปสรรคการใช้บริการธนาคารบนโทรศัพท์มือถือเป็นเรื่องเกี่ยวกับการแสดงผลของหน้าจอ ระบบการใช้งานที่ซับซ้อน รวมถึงความกังวลในระบบความปลอดภัยและความเสถียรของระบบการใช้งาน
Description: Master of Arts (M.A.)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2841
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60601310.pdf2.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.