Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2921
Title: Effective management and control of raw materials in limited spaces : In the sample factory
การจัดการและควบคุมวัตถุดิบคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพในพื้นที่จำกัด : โรงงานกรณีศึกษา
Authors: Pimpisa ATTAKITMONGKOL
พิมพิศา อัตถกิจมงคล
PRACHUAB KLOMJIT
ประจวบ กล่อมจิตร
Silpakorn University. Engineering and Industrial Technology
Keywords: ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุด
นิวส์บอยโมเดล
ซิลเวอร์-มีล
Economic Order Quantity
Newsboy Model
Silver-Meal
Issue Date:  10
Publisher: Silpakorn University
Abstract: From the situation, our company faces a material stock control problem which has a high cost when compared with our sales. Now we don’t have a system for purchase, So the main idea of this research is to find the purchasing system and amount of material control to reduce cost and overstock problems. By using the Economical ordering theory, Silver-Meal, and Newsboy models. Which is divided into 2 groups. First, we investigated the order quantity of material that has a stable quantity and comparing the present system of our company and EOQ system. The other group investigated the order quantity of material that has an unstable quantity and comparing between the present system of our company and the Newsboy model & Silver – Meal to find an effective control system. The result of this research revealed the appropriates of the purchasing system for stable material is the EOQ system, because it can reduce cost down 213,019.49 Bath per year or 6.92%. And unstable material should use Newsboy Model because it can cost down to 135,728.45 Baht per year or 20.80%.
เนื่องจากโรงงานประสบปัญหาการควบคุมวัตถุดิบคงคลังอันเป็นสินค้าที่มีต้นทุนเฉลี่ยสูงเมื่อเทียบกับยอดขาย โดยในปัจจุบันยังไม่มีการกําหนดปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมใช้เพียงประสบการณ์ของผู้ทํางานเท่านั้น ดังนั้นวัตถุประสงค์ในการศึกษานี้จึงมุ่งเน้นไปยังการหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมของวัตถุดิบ เพื่อลดต้นทุนวัตถุดิบคงคลังลง โดยใช้ทฤษฎีการสั่งซื้อแบบประหยัด ซิลเวอร์-มีล และนิวส์บอยโมเดล โดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่หนึ่ง สำหรับวัตถุดิบที่มีความต้องการคงที่ โดยจะเปรียบระหว่างการสั่งซื้อวัตถุดิบในโรงงานในปัจจุบันกับการสั่งซื้อแบบประหยัด กลุ่มที่สอง สำหรับวัตถุดิบที่มีความต้องการไม่คงที่ โดยจะเปรียบระหว่างการสั่งซื้อวัตถุดิบในโรงงานในปัจจุบันกับซิลเวอร์-มีล และนิวส์บอยโมเดล โดยอ้างอิงจากค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวน เพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมในการควบคุมวัตถุดิบคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพที่สุด ผลการวิจัยนี้พบว่าวิธีการหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมสำหรับวัตถุดิบที่มีความต้องการคงที่คือ การสั่งซื้อแบบประหยัดเพราะสามารถลดต้นทุนจากการสั่งซื้อในปัจจุบันลงได้ 213,019.49 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 6.92 ส่วนวิธีการหาปริมาณการสั่งซื้อที่เหมาะสมสำหรับวัตถุดิบที่มีความต้องการที่ไม่คงที่คือ นิวส์บอยโมเดล เพราะสามารถลดต้นทุนจากการสั่งซื้อในปัจจุบันลงได้ 135,728.45 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 20.80
Description: Master of Engineering (M.Eng.)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/2921
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61405311.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.