Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3017
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhattaraporn CHOIHIRANen
dc.contributorภัทราภรณ์ ช้อยหิรัญth
dc.contributor.advisorBUSABA BUASOMBOONen
dc.contributor.advisorบุษบา บัวสมบูรณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-02-17T03:01:11Z-
dc.date.available2021-02-17T03:01:11Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3017-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) development of learning model for enhance the reading ability of undergraduate students using ruces model 2) study the learning model for enhance the reading ability of undergraduate students using ruces model. The researchers was a pre-experimental study, involving the one group pretest-posttest design. The example In this research consists of second-year undergraduate student majoring in Thai Language From The faculty of Education Dhonburi Rajabhat University. The sample was collected by simple random sampling. The research Instruments were 1) enhance the reading ability learning model for undergraduate students using ruces model 2) handbook for learning model 3) lessonplans 4) enhance the reading ability test 5) satisfaction questionnaire and reflective journal. The data is analyzed by using mean, standard deviation, t-test for dependent and content analysis. The finding of this study are as follows: 1. The development of learning model for enhance the reading ability of undergraduate students using ruces model, this model consists of four component which are; 1) principle of learning model 2) objective of learning model 3) learning activity (consisting of 5 steps, which are; (i) review art created language; (ii) understanding content; (iii) construction idea; (iv) Examine deconstruction meaning; (v) sumarize comprehension) and 4) evaluation of instruction model. 2. The findings according of the instructional model are as follows:     2.1 The average post-test scores of enhance the reading ability the subject are significantly higher than that of the pre-test scores at .05 level.     2.2 With regards to satisfaction of undergraduate students to wards the Instructional model using ruces model theories and scaffolded instruction, the students are highly satisfied with the ruces model.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) สร้างรูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการอ่าน ตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตโดยใช้ RUCES MODEL 2) ศึกษาประสิทธิผลของการใช้รูปแบบการเรียนรู้เพื่อ สร้างเสริมความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตโดยใช้ RUCES MODEL การวิจัยนี้ใช้รูปแบบ การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) แบบแผนการวิจัยเชิงทดลองขั้นพื้นฐาน (pre-experimental study) ซึ่งเป็นการศึกษากลุ่มทดลองแบบกลุ่มเดียวที่วัดด้วยแบบทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (the one group pretest-posttest design) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา วรรณกรรมวินิจ (Literary Critics) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ คู่มือการใช้รูปแบบการเรียนรู้ แบบทดสอบ วัดความสามารถในการอ่านตีความ แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษา และแบบบันทึกสะท้อนผลการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต โดยใช้ RUCES MODEL ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการ แนวคิด ทฤษฎีพื้นฐานที่กำหนดโดยผู้พัฒนา รูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ 3) กิจกรรมการเรียนการสอน ซึ่งประกอบด้วยรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้ซึ่งมีกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นที่ 1 ทบทวนวรรณศิลป์ ขั้นที่ 2 ยลยินเนื้อหา ขั้นที่ 3 นำพาความคิด ขั้นที่ 4 พินิจรื้อคำ ขั้นที่ 5 สรุปนำความเข้าใจ และ 4) การประเมินผล 2. ประสิทธิผลของรูปแบบที่เป็นผลมาจากการทดลองใช้รูปแบบการเรียนรู้ พบว่า     2.1 ความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่เรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ RUCES MODEL หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่าง มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05     2.2 ความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตที่มีต่อรูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริม ความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตโดยใช้ RUCES MODEL พบว่านักศึกษามีความพึงพอใจ ต่อรูปแบบการเรียนรู้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรูปแบบการเรียนรู้การอ่านตีความth
dc.subjectทฤษฎีการรื้อสร้างth
dc.subjectวิธีการเรียนรู้แบบสแกฟโฟลด์th
dc.subjectความสามารถในการอ่านตีความth
dc.subjectLEARNING MODELen
dc.subjectDECONSTRUCTION THEORIESen
dc.subjectSCAFFOLDED INSTRUCTIONen
dc.subjectENHANC THE READING ABILITYen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF LEARNING MODEL FOR ENHANC THE READING ABILITY OF UNDERGRADUATE STUDENTS USING RUCES MODELen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างเสริมความสามารถในการอ่านตีความของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตโดยใช้ RUCES MODELth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58255906.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.