Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3123
Title: Lacquer on Rhythmic Plane
รักบนระนาบแปรผัน
Authors: Auscharaporn KLAMKLUAN
อัจฉราภรณ์ กล่ำเกลื่อน
Wiranya Duangrat
วิรัญญา ดวงรัตน์
Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts
Issue Date:  18
Publisher: Silpakorn University
Abstract: Abstract “รัก” (Rak) meaning “love” which related to cherishment, healing, and a word shows warm and kindness. In Thai รัก is a synonymous word with รัก (Rak); a Thai traditional lacquer technique on wood. It is an interesting ancient craftsmanship on plane surface which is a form of art that I want to use as a tool to communicate, inspired by Thai traditional craftmanship, this unique craft technique can be changed freely in to a contemporary art form. To bring a traditional methodology into an international platform is inheritance which shift its legacy toward wilder audiences by creating my own individual process. This helps spreading knowledge of รัก technique, expand it to differences perspective as a media of art. In the end, the aim of this process is to focus on an experiment until something new that require time of creativity is created, to transform รัก on the plane surface become a Thesis subject that bring people to see dimensions in many form of art that blend into the artwork.
รัก เป็นความหมายที่เกี่ยวข้องกับการรักษา ทะนุถนอม เป็นคำที่สื่อถึงความรู้สึกอบอุ่น เป็นคำที่พ้องไปกับชื่อ รัก ซึ่งเป็นเทคนิคงานช่างไทยที่ใช้ยางไม้ในการทาเคลือบวัสดุต่างๆ  เป็นสิ่งที่น่าสนใจในกรรมวิธีโบราณอันเกิดขึ้นบนพื้นผิวที่เป็นระนาบ เป็นลักษณะที่ข้าพเจ้าต้องการสื่อสารผ่านรูปทรงโดยมีแรงบันดาลใจจากงานศิลปกรรมไทยโบราณที่เทคนิควิธีการสามารถเแปรผัน ไปตามอารมณ์ความรู้สึกที่ต้องการนำเสนอผ่านรูปแบบของงานศิลปะสมัยใหม่ ผ่านการจัดการจากรูปแบบผลงานที่มีขั้นตอนแบบโบราณ สู่ความเป็นสากล ที่สื่อความรู้สึกถึงการถนอมรักษา อันนำไปสู่กระบวนการซึ่งสะท้อนความหมายถึงการสืบสานศิลปะที่ข้าพเจ้าได้หวงแหนรักษา ไปสู่วิธีการสร้างสรรค์อันเป็นปัจเจก มุ่งให้องค์ความรู้ได้เผยแพร่สู่วงกว้าง และทำให้ศิลปะได้ขยายไปสู่มิติอื่นๆ ในการทำงาน เพราะท้ายที่สุด การทำงานในลักษณะนี้เป็นการทำงานที่มุ่งเน้นการศึกษาทดลอง จนเกิดเป็นสิ่งใหม่ที่ต้องการเวลาในการสร้างสรรค์จนเกิดการยอมรับ ทำให้รักบนระนาบแปรผัน เป็นวิทยานิพนธ์ที่ได้นำพาให้ทุกคนเห็นมิติต่างๆ ในงานศิลปกรรมหลากหลายรูปแบบ ที่ผสมผสานลงไปในงานที่สร้างสรรค์ 
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3123
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59004212.pdf4.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.