Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3267
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChitlada RAKNOIen
dc.contributorจิตลดา รักน้อยth
dc.contributor.advisorWorawut mansukpolen
dc.contributor.advisorวรวุฒิ มั่นสุขผลth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Educationen
dc.date.accessioned2021-07-20T04:31:08Z-
dc.date.available2021-07-20T04:31:08Z-
dc.date.issued18/6/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3267-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed.)en
dc.descriptionศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were: 1) To development of blended learning activities by using inquiry based learning processes to enhance analysis thinking skills of eleventh grade students. 2) To study learning achievement between pretest and posttest of the students who studied with blended learning activities by using inquiry based learning processes. 3) To compare analysis thinking skills of students who studied with blended learning activities by using inquiry based learning processes. 4) To study students’s opinions of eleventh grade students to blended learning activities by using inquiry based learning processes to enhance analysis thinking skills History. The sample group for this research were eleventh grade of Uthongsuksalai school,Semester 2,Academic year 2020,1 classroom,30 students selected by a simple random sampling by classroom samples random sampling. The instruments of this research were: 1) Structured interview form for interviewing experts 2) Blended learning education plan by using inquiry based learning processes. 3) Blended learning activities. 4) Quality evaluation form of blended learning activities by using inquiry based learning processes. 5) The achievement test History 6) Analysis thinking skills test 7) Questionnaire form of blended learning activities. The statistics used for data analysis were mean (x̄), standard deviation (S.D.), and t-test Dependent Samples. The results were as follow: 1) The quality of blended learning activities by using inquiry based learning processes were at a quality level were very good (x̄ = 4.57, SD = 0.33) 2) The different of pretest and posttest learning achievement of the students who studied with blended learning activities by using inquiry based learning processes were after learning higher than before learning statistical significance at the level of .01 3) The results of the compare analysis thinking skills of students who studied with blended learning activities by using inquiry based learning processes were after learning higher than before learning with statistical significance at the level of .01 4) The students’s opinions of eleventh grade students to blended learning activities by using inquiry based learning processes to enhance analysis thinking skills was in the highest level (x̄ = 4.52, S.D. = 0.61).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ วิชาประวัติศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอู่ทองศึกษาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียน 30 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สำหรับสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 2) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 3) กิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน 4) แบบประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาประวัติศาสตร์ 6) แบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ 7) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าที (t-test) แบบ Dependent Sample ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลการประเมินคุณภาพกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ มีคุณภาพ อยู่ในระดับดีมาก (x̄ = 4.57, S.D. = 0.33) 2) ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ พบว่า ผลคะแนนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) ผลการเปรียบเทียบทักษะการคิดวิเคราะห์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ พบว่า ผลคะแนนการคิดวิเคราะห์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 4) ผลการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.52 , S.D. = 0.61)th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการเรียนรู้แบบผสมผสาน / กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ / ทักษะการคิดวิเคราะห์th
dc.subjectBLENDED LEARNING/INQUIRY BASED LEARNING PROCESSES/ANALYSIS THINKING SKILLen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF BLENDED LEARNING ACTIVITIES BY USINGINQUIRY BASED LEARNING PROCESSES TO ENHANCE ANALYSISTHINKING SKILLS OF ELEVENTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้แบบผสมผสานโดยใช้กระบวนการเรียนแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59257307.pdf10.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.