Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3421
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSilawat KAEWPIJITen
dc.contributorศีลวัชร์ แก้วพิจิตรth
dc.contributor.advisorPRACHUAB KLOMJITen
dc.contributor.advisorประจวบ กล่อมจิตรth
dc.contributor.otherSilpakorn University. Engineering and Industrial Technologyen
dc.date.accessioned2021-07-27T08:01:52Z-
dc.date.available2021-07-27T08:01:52Z-
dc.date.issued2/7/2021
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3421-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม)th
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the forecast of rice husk as s fuel for an appropriate amount needed for electrical generation for the rest 2 years. This also will decrease unnecessary overstock of the rice husk. Collecting data needed from January, 2016 to December, 2020 then choose the most appropriate forecast methods by comparing the four methods; Moving average method, Single exponential smoothing method, Double exponential smoothing method and Simple linear regression. Then choose the best method by using the lowest Mean Absolute Percentage Error (MAPE). The results of the studied shown that double exponential smoothing method has the lowest MAPE at 24. By calculating the Safety Stock (SS) and Economic Order Quantity (EOQ) in combination with Reorder Point (ROP) used to control the amount of inventory and finding the appropriate order quantity including to reduce operating costs and compare the total cost of ordering rice husk is decrease by 1,293,569.00 baht per month. Which is decrease by 11.66%.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิธีพยากรณ์แกลบที่เหมาะสมและสร้างนโยบายในการวางแผนการสั่งซื้อแกลบที่เหมาะสมต่อการผลิตกระแสไฟฟ้าในระยะ 2 ปีข้างหน้า และลดมูลค่าการสูญเสียที่เกิดจากการสั่งซื้อและจัดเก็บแกลบในปริมาณที่มากเกินความจำเป็น โดยเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่ พ.ศ.2559 - พ.ศ. 2563 จากนั้นเลือกวิธีพยากรณ์ที่เหมาะสมที่สุด โดยเปรียบเทียบผลการพยากรณ์ของวิธีพยากรณ์ทั้ง 4 วิธีคือ วิธีหาค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ วิธีการปรับเรียบแบบเอ็กซ์โพเนนเชียลแบบง่าย วิธีการปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชี่ยลสองเท่า และ วิธีการถดถอยเชิงเส้นตรง จากนั้นเลือกวิธีการพยากรณ์ที่เหมาะสมที่สุด โดยใช้เกณฑ์พิจารณาค่าร้อยละความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยที่ต่ำที่สุด ผลการศึกษาพบว่าวิธีการปรับเรียบเอ็กซ์โปเนนเชี่ยลสองเท่าให้ค่าร้อยละความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์เฉลี่ยต่ำที่สุดเท่ากับ 24 จากการคำนวณพบว่า เมื่อคำนวณหาปริมาณสินค้าคงคลังสำรอง และปริมาณสั่งซื้ออย่างประหยัดร่วมกับจุดสั่งซื้อใหม่ มาใช้ในการควบคุมปริมาณแกลบในคงคลังและหาปริมาณสั่งซื้อที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถลดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานได้ และทำการเปรียบเทียบต้นทุนรวมของการสั่งซื้อแกลบ สามารถลดต้นทุนรวมได้ 1,293,569.00  บาทต่อเดือน คิดเป็น 11.66%th
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectการพยากรณ์th
dc.subjectตัวแบบปริมาณสั่งซื้ออย่างประหยัดth
dc.subjectจุดสั่งซื้อใหม่th
dc.subjectปริมาณสินค้าคงคลังสำรองth
dc.subjectForecastingen
dc.subjectEconomic Order Quantityen
dc.subjectReorder Pointen
dc.subjectSafety Stocken
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleThe study of production planning for rice husk use as fuel: A case study uses for Biomass power plant.en
dc.titleการวางแผนความต้องการแกลบสำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า กรณีศึกษาโรงไฟฟ้าชีวมวลth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Engineering and Industrial Technology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620920051.pdf3.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.