Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3480
Title: THE POWER OF THE EASTERN COLOUR
พลังแห่งสีสันตะวันออก
Authors: Warisara APISAMPINWONG
วริศรา อภิสัมภินวงค์
Thavorn Ko-Udomvit
ถาวร โกอุดมวิทย์
Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts
Keywords: สีสัน
วัฒนธรรมไทย-จีน
Colour
Thai-Chinese culture
Issue Date:  26
Publisher: Silpakorn University
Abstract:   From life of Thai people of Chinese descent, combined with the symbolic style in the art and culture of the celebration tradition Colors and shapes, architecture in Chinese Buddhist places reflect, lifestyle reflecting Thai-Chinese identity. Things passed down from my ancestors to my generation. Regarding the way of life of Chinese-Thai descent people combined with symbolic forms of art and culture expressed in the traditional celebration, as well as colors and architectural designs in the Chinese Buddhist place, they reflect the cultural identity of Thai-Chinese. Cultural heritages inherited from ancestors to my generation and the overlapping of culture is the point of inspiration in the beginning of creativity caused by the impression. The charm of the combination of traditions, culture, and the co-living circumstance of the two ethnic groups result in a society overlap with the diversity of two cultures combined together. As we obviously see the exquisite skill of Chinese porcelain manufacturing since the past, the Chinese porcelain consists of 5 types of ancient Chinese colors, including white, yellow, black, red and green (indigo), attracting Thai people to see the classic elegance. Therefore, those Thai people have designed patterns to order the Chinese skilled craftsman to produce the porcelain products until becoming Thai traditional unique pattern porcelain today. These concepts are reflected in the form of artistic symbols. For instance of my artwork, it reflects the Thai-Chinese cultural overlap perfectly and the context of colors in my unique style presented in Woodcut printmaking techniques.
จากวิถีชีวิตของคนไทยเชื้อสายจีนผสมผสานกับรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ในศิลปวัฒนธรรมของประเพณีการ เฉลิมฉลอง สีสันและรูปทรงสถาปัตยกรรมในพุทธสถานจีนวิถีชีวิตที่สะท้อนถึงเอกลักษณ์ไทยจีน สิ่งที่ส่งต่อจาก บรรพบุรุษสู่รุ่นของผู้สร้างสรรค์ วิทยานิพนธ์หัวข้อเรื่อง “พลังแห่งสีสันตะวันออก” เป็นการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์งานศิลปะภาพพิมพ์ รูปแบบ 2 มิติ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อสะท้อนความเชื่อ พิธีกรรมและความเป็นเอกลักษณ์ของคนไทยเชื้อสายจีน รวมไปถึงการไหว้บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของจีนเพื่อสะท้อนความเชื่อทางพิธีกรรมในการแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษอันเป็นเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงความกตัญญูกตเวทีและระลึกถึงบุญคุณของบรรพบุรุษอย่างสูง เป็นพิธีกรรมที่สอดแทรกกุศโลบายเพื่อให้เกิดความรักใคร่ในหมู่เครือญาติ โดยการทับซ้อนของวัฒนธรรมสาระประเด็นเหล่านี้ คือแรงบันดาลใจเริ่มต้นในการสร้างสรรค์ที่เกิดจากความประทับใจจากมนต์เสน่ห์ การผสมผสานระหว่างประเพณี วัฒนธรรมความเป็นอยู่ที่มีร่วมกัน และการทับซ้อนในเชิงสังคมที่มีความหลากหลายในสองวัฒนธรรมที่ถูกหลอม รวมเข้าด้วยกัน ดังจะเห็นได้ชัดคือความงามจากทักษะการผลิตเครื่องเคลือบของจีนตั้งแต่สมัยอดีต และสีที่ใช้ทั้งหมด 5 สี ได้แก่ สีขาว สีเหลือง สีดำ สีแดง และสีเขียว (คราม) ซึ่งเป็นสีโบราณของจีน ดึงดูดให้คนไทยมองเห็นความงดงามเหล่านี้ จึงได้ออกแบบลวดลายเพื่อส่งให้จีนผลิตจนกลายมาเป็นเครื่องเบญจรงค์ที่ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของไทยจนถึงปัจจุบัน จึงสะท้อนออกมาในรูปสัญลักษณ์ทางศิลปะ ดังเช่นงานศิลปะของข้าพเจ้าที่มีการทับซ้อนทางวัฒนธรรมของไทย -จีนได้อย่างลงตัว และสะท้อนบริบทของสีในรูปแบบแนวทางของผู้สร้างสรรค์ที่นำเสนอด้วยเทคนิคภาพพิมพ์แกะไม้
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3480
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60003215.pdf11.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.