Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3538
Title: | ACADEMIC ADMINISTRATION OF CHAAM KHUNYING NUANGBURI SCHOOL การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี |
Authors: | Nakorn JONGANURUK นคร จงอนุรักษ์ Saisuda Tiacharoen สายสุดา เตียเจริญ Silpakorn University. Education |
Keywords: | การบริหารงานวิชาการ ACADEMIC ADMINISTRATION |
Issue Date: | 26 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purposes of this study were to know 1) academic administration of Chaam Khunying Nuangburi School and 2) the guidelines to develop academic administration of Chaam Khunying Nuangburi School. The population of this study were administrators and teachers in Chaam Khunying Nuangburi School, totally 52 respondents. The instrument was a opinionnaire about the academic administration based on OBEC Concept. The statistics used to analyze the data were frequency (f), percentage (%), arithmetic mean (µ), standard deviation (s) and content analysis
The findings of this study were as follows
1) The academic administration of Chaam Khunying Nuangburi School in overall was at high level and each aspects found that thirteen aspects at high level. When ranking by arithmetic mean form the highest to the lowest, there were,: Textbooks selection for schools, Measurement evaluation and transfer of grades, Learning process development, Guidance , Learning and teaching management in schools, The development of internal quality assurance systems and educational standards, Educational supervisor, providing education to people, families, institutions. Enterprise and other institdites, Preparation of regulations and practicality for academic, School curriculum development, Development and promotion of learning resources, Developing or proceeding with opinions on a local curriculum development, Technology media development and using for education. Four aspects were at moderate level there were, Academic planning, Collaboration in academic development with other schools and organizations, Promoting the academic strength of the community, Research for educational quality development in schools,
2) The Guidelines to develop academic administration of Cha-am School Khunying Nueng Buri as follows, Schools should focus on academic planning and collaborate on academic development with other schools and institutions to promote the community to be academically strong, should encourage teachers to gain knowledge about doing research to improve quality educational, should arrange teaching activities in accordance with the school curriculum and Basic Education Core Curriculum
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) การบริหารงานวิชาการของโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี 2) แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี ประชากร คือ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี ปีการศึกษา 2563 จํานวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานวิชาการในภาพรวมของโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเพชรบุรี อยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากจำนวน 13 ด้าน โดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา การวัดผล ประเมินผลและดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การแนะแนวการศึกษา การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา การนิเทศการศึกษา การส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา การจัดทําระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา การพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาหรือดําเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น การพัฒนาและการใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา อยู่ในระดับปานกลางจำนวน 4 ด้านโดยเรียงค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การวางแผนงานด้านวิชาการ การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น การส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ และการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา 2. แนวทางการพัฒนาการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนโรงเรียนชะอำคุณหญิงเนื่องบุรี พบว่า โรงเรียนควรเน้นการวางแผนงานวิชาการ และประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาอื่นๆและส่งเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ ควรส่งเสริมให้ครูได้รับความรู้เรื่องการทำวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพทางการศึกษา ควรจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน |
Description: | Master of Education (M.Ed.) ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม) |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3538 |
Appears in Collections: | Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61252319.pdf | 4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.