Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3699
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nutkamol JAISAN | en |
dc.contributor | ณัฐกมล ใจสาร | th |
dc.contributor.advisor | Vichaya Mukdamanee | en |
dc.contributor.advisor | วิชญ มุกดามณี | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University. Painting Sculpture and Graphic Arts | en |
dc.date.accessioned | 2022-07-11T07:27:51Z | - |
dc.date.available | 2022-07-11T07:27:51Z | - |
dc.date.issued | 1/7/2022 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3699 | - |
dc.description | Master of Fine Arts (M.F.A.) | en |
dc.description | ศิลปมหาบัณฑิต (ศล.ม.) | th |
dc.description.abstract | The Paradox in the Social Paradigm is a connection between various phenomena that occur in social. focusing on the issue of attitudes toward political conflicts in Thai society public rallies over the past century. The results of the study of conceptual frameworks and the study concepts are indicated by the Definition of Paradigm, Postmodern art, Jacques Derrida's Postmodern Political Philosophy, Deconstruction theory, and Concept of Differance. This research also adopts the practical frameworks employed by master painters Sigma Polke and Arin Rungjang to support the study. The result is an artwork in a form of narrative connected with the inspiration from historical issue, political issue, literature, and personal memories. The aims of the work is to point out the political conflict that has occurred in the past and still influences present. | en |
dc.description.abstract | ผลงานชุดวิทยานิพนธ์ ‘ความย้อนแย้งในกระบวนทัศน์ทางสังคม’ เกิดจากการเชื่อมโยงกันผ่านปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคม โดยมุ่งเน้นไปที่ประเด็นของทัศนคติที่มีต่อปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองสังคมไทย การชุนนุมของประชาชนตลอดช่วงทศตวรรษที่ผ่านมา นำเสนอผลการศึกษาของกรอบทฤษฎีและแนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับนิยามของความย้อนแย้ง ความหมายของกระบวนทัศน์ แนวคิดศิลปะหลังสมัยใหม่ ทฤษฎีการรื้อสร้างและทฤษฏีความหลากเลื่อนของฌากส์ เดอร์ริดา ศึกษาด้านกรอบกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานจากศิลปินตัวอย่าง ซิกม่า โพลเคอ และ อริญชย์ รุ่งแจ้ง ผลลัพธ์ที่ได้คือผลงานศิลปะในรูปแบบของบทพรรณาที่มีความเชื่อมโยงกับผลงานจิตรกรรม ซึ่งเกิดจากการผสมผสานระหว่างแรงบันดาลใจทางประวัติศาสตร์ การเมือง วรรณกรรมและความทรงจำส่วนตัวของข้าพเจ้า เพื่อชี้ให้เห็นถึงปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองที่เคยเกิดขึ้นในอดีตและยังคงส่งผลกระทบมาจนถึงปัจจุบัน | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | ความย้อนแย้ง, กระบวนทัศน์, ศิลปะหลังสมัยใหม่, ทฤษฎีการรื้อสร้าง ,และทฤษฏีความหลากเลื่อน | th |
dc.subject | Paradox Paradigm Postmodern art Deconstruction and Concept of Différance | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.title | Paradox in the Social Paradigm | en |
dc.title | ความย้อนแย้งในกระบวนทัศน์ทางสังคม | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | Painting Sculpture and Graphic Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630120004.pdf | 7.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.