Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3730
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorBanchongluck KANHACHALEEen
dc.contributorบรรจงลักษณ์ กัณหาชาลีth
dc.contributor.advisorAdisorn Srisaowanunten
dc.contributor.advisorอดิศร ศรีเสาวนันท์th
dc.contributor.otherSilpakorn University. Architectureen
dc.date.accessioned2022-07-18T07:28:52Z-
dc.date.available2022-07-18T07:28:52Z-
dc.date.issued1/7/2022
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3730-
dc.descriptionMaster of Architecture (M.Arch)en
dc.descriptionสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.abstractThis thesis is to study the factors affecting the formation of the “entrance” area in architecture. The purpose is to study the meaning, functions, methods, content collection and analysis of the entrance area. To lead to the creation of a tool to systematically read the entrance area by using a case study of 18 museum building architecture projects to analyze, divided into 3 groups according to the type of museum, namely 1) historical museum 2) art museum 3) Museums in science category, each of 6 projects to study, analyze, compare and find the relationship to explain the results of the entrance area for specific building-type museums. The results of the case study analysis revealed that the formation of the entrance area has a sequence of placement, emphasizing meaning and perception from different transitions. There are different volumetric weights. There was a phenomenon at the entrance area. which is a factor that influences the formation of the entrance area of ​​the architectural thought process and affects or conveys different human perceptions according to the physical designation of the entrance area. Summarizing the results of the study, it was found that all types of “entrances” of museum buildings Try to create some signs related to the contents inside to position the entrance area. To reinforce the meaning before entering the building by creating a sense of "intercept, slow down, delay" in the entrance area with different numbers, sequences, positions, proportions, volumes of complexity. that affect the perception experience cause a memory impression of that place By creating a phenomenon of the entrance area from being linked to one with the context of that place. Or is it a cut off creating a new atmosphere from within the project? to create the aesthetics of visitors.en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการก่อรูปพื้นที่ “ทางเข้า” ในงานสถาปัตยกรรม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความหมาย, หน้าที่, วิธีการ, รวบรวมเนื้อหาและวิเคราะห์ความเป็นพื้นที่ทางเข้า เพื่อนำไปสู่การสร้างเครื่องมือในการอ่านพื้นที่ทางเข้าอย่างเป็นระบบ ด้วยการใช้กรณีศึกษางานสถาปัตยกรรมอาคารประเภทพิพิธภัณฑ์จำนวน 18 โครงการมาศึกษาวิเคราะห์ โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่มตามประเภทของพิพิธภัณฑ์คือ 1) พิพิธภัณฑ์ประเภทประวัติศาสตร์ 2) พิพิธภัณฑ์ประเภทศิลปะ 3)พิพิธภัณฑ์ประเภทวิทยาศาสตร์ อย่างละ 6 โครงการมาทำการศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบและหาความสัมพันธ์เพื่อใช้อธิบายสรุปผลของพื้นที่ทางเข้าเฉพาะอาคารประเภทพิพิธภัณฑ์   ผลของการวิเคราะห์กรณีศึกษาพบว่า การก่อรูปของพื้นที่ทางเข้ามีลำดับของตำแหน่งการเน้นย้ำความหมายและการรับรู้จากการเปลี่ยนผ่านที่แตกต่างกัน มีน้ำหนักของปริมาตรที่แตกต่างกัน มีการสร้างปรากฏการณ์บริเวณพื้นที่ทางเข้า ซึ่งเป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการก่อรูปพื้นที่ทางเข้าของกระบวนการความคิดทางสถาปัตยกรรมและส่งผลหรือสื่อความหมายเชิงการรับรู้ของมนุษย์ที่แตกต่างกันตามการกำหนดกายภาพของพื้นที่ทางเข้า สรุปผลที่ได้จากการศึกษาพบว่า “ทางเข้า” ทุกๆประเภทของอาคารพิพิธภัณฑ์ พยายามสร้างสัญญะบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาภายในมาวางตำแหน่งพื้นที่ทางเข้า เพื่อขับเน้นย้ำความหมายอีกครั้งก่อนเข้าสู่อาคาร ด้วยการ สร้าง sense ของ “การสกัดกั้น การชะลอช้า การหน่วงระยะเวลา” ในพื้นที่ทางเข้า โดยมี จำนวนของ ลำดับ ตำแหน่ง  สัดส่วน ปริมาตร ของความซับซ้อนที่แตกต่างกัน ที่ส่งผลต่อประสบการณ์การรับรู้ ทำให้เกิดความทรงจำ ความประทับใจของสถานที่นั้นๆ ด้วยการสร้างปรากฏการณ์ของพื้นที่ทางเข้าจากการเชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวกันกับบริบทของสถานที่นั้นๆ หรือเป็นการตัดขาดสร้างบรรยากาศใหม่จากภายในโครงการ เพื่อสร้างสุนทรียภาพของผู้มาเยือนth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectทางเข้าth
dc.subjectความหมายและการรับรู้th
dc.subjectลำดับการเปลี่ยนผ่านth
dc.subjectพื้นที่แบ่งเขตth
dc.subjectEntrywayen
dc.subjectMeaning and perceptionen
dc.subjectSequence of transitionen
dc.subjectThreshold spacesen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleSequence of perception “main entrance”:  relationships of visual body movement and proportions in architectureen
dc.titleลำดับการรับรู้ "ทางเข้าหลัก" : ความสัมพันธ์ของมุมมอง การเคลื่อนที่ และสัดส่วนในงานสถาปัตยกรรมth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630220008.pdf25.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.