Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3821
Title: THE DEVELOPMENT OF VIRTUAL MUSEUM FOR RATCHABURY NATIONAL MUSEUM
การพัฒนาพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ ราชบุรี 
Authors: Krissachai TANLONGKACHON
กฤษชัย ตันหลงขจร
Nammon Ruangrit
น้ำมนต์ เรืองฤทธิ์
Silpakorn University. Education
Keywords: การพัฒนา
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง
ความคิดเห็น
ผู้เยี่ยมชม
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี
development
national museum Ratchaburi
Virtual Museum
reviews
visitors
Virtual Museum for Learning National Museum Ratchaburi
Issue Date:  1
Publisher: Silpakorn University
Abstract: Objectives of the research 1) To develop a virtual museum for learning. Ratchaburi National Museum 2) to study the opinions of visitors to the virtual museum for learning Ratchaburi National Museum. Samples used in the research. 30 people came to see the Ratchaburi National Museum by volunteers (Volunteer Sampling). Research instruments 1) Interview form of the museum staff. and experts in the design of virtual media; 2) a virtual museum for learning Ratchaburi National Museum 3) Questionnaire on the opinions of visitors towards virtual museum media for learning. Ratchaburi National Museum. The research finding were as follow: 1) Results of development and quality assessment Virtual Museum for Learning The content aspect of the National Museum, Ratchaburi, had a mean of 4.33 and the standard deviation of S.D. was 0.22, which meant that the media was of good quality. The media quality assessment item with the highest average was The content is useful to learners with an average value of 4.67 with very good quality. and content quality assessment items The lowest mean is The content can satisfy the difference between having an average of 4.00 with good quality. 2) The results of the study of visitors' opinions on virtual media design media for learning about the system Virtual Museum for Learning The overall average was 4.40 and the S.D. standard deviation was 0.13. Virtual Museum for Learning Ratchaburi National Museum agrees to a good extent. The evaluation item with the highest average score was Knowing more about the culture and way of life of people in Ratchaburi province has an average value of 4.50 and the standard deviation of S.D. is 0.51, meaning the level of the opinions of the visitors is very good. and the media quality assessment item with the lowest mean was beautiful graphics, good meaning, with an average value of 4.27, with good quality.
วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนา พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้เยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ประชาชนที่มาชมพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี จํานวน 30 คน ได้มาโดยอาสาสมัคร (Volunteer Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แบบสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ดูแลพิพิธภัณฑสถาน และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบสื่อเสมือนจริง 2) พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี 3) แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เยี่ยมชมที่มีต่อสื่อพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการพัฒนาและประเมินคุณภาพ พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี ด้านเนื้อหา มีค่าเฉลี่ย = 4.33 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.22 ซึ่งหมายถึง สื่อมีคุณภาพระดับดี โดย รายการประเมินคุณภาพสื่อด้านเนื้อหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ เนื้อหามีประโยชน์ต่อผู้เรียน มีค่าเฉลี่ย = 4.67 มีคุณภาพระดับดีมาก และรายการประเมินคุณภาพสื่อด้านเนื้อหาที่มี ค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ เนื้อหาสามารถสนองความแตกต่างระหว่าง มีค่าเฉลี่ย = 4.00 มีคุณภาพระดับดี 2) ผลการศึกษาความคิดเห็นของผู้เยี่ยมชมที่มีต่อสื่อการออกแบบสื่อเสมือนจริง เพื่อการ เรียนรู้ระบบเรื่อง  พิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี ภาพรวมมีค่าเฉลี่ย = 4.40 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.13 ซึ่งหมายถึง ความคิดเห็นของผู้เยี่ยมชมที่มีต่อพิพิธภัณฑ์เสมือนจริงเพื่อการเรียนรู้ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ราชบุรี นั้นเห็นด้วยในระดับดี โดยรายการประเมินวัดระดับความคิดเห็นที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ รู้จักวัฒนธรรมของและวิถีชีวิตคนในจังหวัดราชบุรีมากขึ้น มีค่าเฉลี่ย = 4.50 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 0.51 หมายถึงระดับความคิดเห็นของผู้เยี่ยมชมเห็นด้วยในระดับดีมาก และรายการประเมินคุณภาพสือที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ กราฟิกสวยงาม สื่อความหมายได้ดี มีค่าเฉลี่ย = 4.27 มีคุณภาพระดับดี
Description: Master of Education (M.Ed.)
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3821
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60257301.pdf5.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.