Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3941
Title: Guidelines for Development of Wedding Bands under COVID-19 Situations in Bangkok
แนวทางการพัฒนาธุรกิจวงดนตรีงานแต่งงานภายใต้วิกฤต COVID-19 ในเขตกรุงเทพมหานคร
Authors: Chumnansin PHETRIT
ชำนาญศิลป์ เพ็ชรฤทธิ์
Saksit Rachruk
ศักดิ์สิทธิ์ ราชรักษ์
Silpakorn University. Music
Keywords: วงดนตรีงานแต่ง, นักดนตรี, การจ้างงาน, โควิดข19
Wedding Band Musician Emplayment Covid-19
Issue Date:  1
Publisher: Silpakorn University
Abstract: 61701309 : MAJOR : (MUSIC RESEARCH AND DEVELOPMENT) KEY WORD :WEDDING BANDs /MUSICIAN/ MUSICIAN/ CHUMNANSIN PHETRIT : GUIDELINES FOR DEVELOPMENT OF WEDDING BANDS UNDER COVID-19 SITUATIONS IN BANGKOK. THESIS ADVISOR: ASST.PROF.SAKSIT RACHRUK,PH.D. This research study aims as follows: 1.) To study the barriers of bands in the service of wedding bands. 2.) To study the needs of customers to use wedding bands 3.) to present development guidelines to wedding bands using a mixed research study of qualitative and quantitative research. 3 persons and wedding business operators In the Questionnaire section, the researchers collected 400 questionnaires from a group of wedding bands in Bangkok. 400 for data analysis The statistics used in the analysis include: Frequency Distributions, Percentages, Mean, and Standard Deviations The results of the research found that 1) the problems of the band in the service of the wedding band are the booking queue of the band members to meet the needs of customers is difficult, lack of connection good to continue the business, now there are fast-changing technology difficult to understand but need to adapt, the key problem is the COVID 19 crisis difficult to sell bands, causing problems from the purchase of customers that change, the band is rarely are different The same music, the dress is also important that can’t make a difference, including having accessories that are ready, such as systems, screens, sound, different techniques to create tattoos. 2) Customers in using the service. wedding band Most of the results from the quantitative data analysis revealed that most of the respondents were female, aged 30-39 years, were in bachelor's degree, working as civil servants, were single, and had incomes of 30,001-40,000 baht. on the use of wedding band services under the COVID-19 crisis in Bangkok And there is a demand for quality band products that meet the needs (Product) at a price that is suitable for the quality of the band (Price). There is a promotion as an alternative to the purchase decision of the customer (Promotion). People can easily find in various online channels (Place) and have a service provider who can explain in detail, answer questions or give good advice (People) and 3) development guidelines for wedding bands. Development guidelines for wedding bands found that bands in the COVID 19 era should develop as follows: 1) The potential in quality products and services. Quality products and services that users want. 2) Price potential. Setting the price is therefore necessary to be consistent with the band in different ways. by clearly informing that affects the purchasing decision; 3) the potential in terms of value-added services to promote sales To attract more people who want to hire a wedding band 4.) Potential in public relations In today's era, online channels are very important. Using Social Media such as Youtube, Facebook, Line, Instagram, etc. because communication is important. Easy to decide. 5.) Personnel potential. matter of speaking dressing well The good manners of both the musicians in the band and the personnel in other fields can make an impression since the meeting, discussing, offering work. Help encourage customers to pay attention and decide to buy the next wedding band. Program of (Music Research and Development) Graduate School,Silpakorn University Student's signature ........................................  Academic Year 2022 Thesis Advisor's signature ........................................
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมัติให้วิทยานิพนธ์เรื่อง “แนวทางการพัฒนาธุรกิจวงดนตรีงานแต่งงานภายใต้วิกฤตCOVID 19 ในเขตกรุงเทพมหานคร” เสนอโดย นายชำนาญศิลป์ เพ็ชรฤทธิ์  เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา ……...........................................................  (รองศาสตราจารย์ ดร.จุไรรัตน์ นันทานิช)                                                          คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย                                                          วันที่.........เดือน................. พ.ศ........... อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ราชรักษ์  คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ .................................................... ประธานกรรมการ (อ.ดร.นลิน เพ็ชรอินทร์) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ราชรักษ์) ............/......................../.............. .................................................... กรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ตรีทิพ บุญแย้ม) ............/......................../..............     61701309 : สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา คำสำคัญ :  วงดนตรีงานแต่งงงาน/นักดนตรี/การจ้างงาน ชำนาญศิลป์ เพ็ชรฤทธิ์ : แนวทางการพัฒนาธุรกิจวงดนตรีงานแต่งงานภายใต้วิกฤตCOVID 19 ในเขตกรุงเทพมหานคร. อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ : ผศ.ดร.ศักดิ์สิทธิ์ ราชรักษ์           การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1.) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคของวงดนตรีในการให้บริการของวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน 2.) เพื่อศึกษาความต้องการของลูกค้าในการใช้บริการวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน 3.) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาให้กับวงดนตรีสำหรับงานแต่งงานซึ่งเป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพนั้น(Qualitative Method) เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญวงดนตรีงานแต่งงาน จำนวน 3 ราย และผู้ประกอบการธุรกิจงานแต่งงาน จำนวน 3 ราย ในส่วนของการวิจัยเชิงปริมาณ (Questionnaire) ผู้วิจัยได้ทำการเก็บแบบสอบถามจำนวน 400 ฉบับ จากกลุ่มผู้ต้องการวงดนตรีงานแต่งงานในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ราย เพื่อใช้สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ประกอบด้วย การแจกแจงความถี่ (Frequency Distributions) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการการวิจัย พบว่า 1) ปัญหาอุปสรรคของวงดนตรีในการให้บริการของวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน คือ การจองคิวของสมาชิควงเพื่อให้ตอบสนองความต้องการลูกค้าเป็นไปได้ยาก,ขาดคอนเนคชั่นที่ดีเพื่อต่อยอดธุรกิจ,ปัจจุบันมีเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงเร็วยากที่จะเข้าใจแต่จำเป็นต้องปรับตัว,ปัญหาสำคัญคือวิกฤต COVID 19 ที่ยากในการขายวงดนตรีทำให้ปัญหาจากการซื้อของลูกค้าที่เปลี่ยนไป,วงดนตรีไม่ค่อยมีความแตกต่างกัน เพลงที่เหมือนกัน,เรื่องการแต่งกายก็มีความสำคัญที่ยังไม่สมารถสร้างความแตกต่างรวมไปจนถึงการมีอุปกรณ์เสริมที่พร้อมเช่น ระบบ จอ ภาพ เสียง เทคนิคต่างๆ ในการสร้างศักยภาพ 2) ลูกค้าในการใช้บริการวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน ส่วนใหญ่เป็นผลวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30-39 ปี อยู่ในระดับปริญญาตรีปรกอบอาชีพข้าราชการมีสถานภาพโสด และมีรายได้ 30,001-40,000 บาทซึ่งปัจจัยที่ส่งผล ต่อการใช้บริการวงดนตรีสำหรับงานแต่งงานภายใต้วิกฤต COVID 19 ในเขตกรุงเทพมหานคร และมีความต้องการในด้านสินค้าวงดนตรีที่มีคุณภาพตอบสนองความต้องการ(Product)ได้ในราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพของวงดนตรี (Price) มีการส่งเสริมการขายเป็นทางเลือกในการตัดสินใจซื้อของลูกค้า (Promotion) ที่สมารถคนหาได้ง่ายในช่องทาง Online ต่างๆ(Place) และมีผู้ให้บริการที่สามารถอธิบายรายละเอียดค่อยตอบคำถามหรือแนะนำที่ดี(People) และ 3) แนวทางการพัฒนาให้กับวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน แนวทางการพัฒนาให้กับวงดนตรีสำหรับงานแต่งงาน  พบว่า วงดนตรีในยุคโควิด 19 ควรมีการพัฒนาดังนี้ 1.) ศักยภาพในด้านสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ สินค้าและบริการที่มีคุณภาพที่ผู้ใช้บริการต้องการ 2.) ศักยภาพในด้านราคา การตั้งราคาจึงเป็นสิ่งจำเป็นให้สอดคล่องกับวงในลักษณะต่าง โดยการแจ้งให้ชัดเจนที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อ 3)  ศักยภาพในด้านบริการเสริมเพื่อส่งเสริมการขาย เพื่อดึงดูดให้ผู้ที่ต้องการจ้างวงดนตรีงานแต่งงานเพิ่มขึ้น 4.)ศักยภาพในโฆษณาประชาสัมพันธ์ ในยุคปัจจุบันช่องทาง Online มีความสำคัญเป็นอย่างมาก การใช้สื่อ Social Media เช่น Youtube, facebook, line, Instragramเป็นต้น เพราะการสื่อสารเป็นเรื่องสำคัญ ง่ายในการตัดสินใจ 5.) ศักยภาพในด้านบุคลากร เรื่องของการพูดจากการแต่งตัวที่ดี การมีอัธยาศัยที่ดีทั้งของนักดนตรีในวงและบุคลากรทางด้านอื่นสามารถสร้างความประทับใจได้ตั้งแต่พบเจอคุยเสนองาน ช่วยส่งเสริมให้ลูกค้าสนและตัดสินใจซื้อวงดนตรีงานแต่งงานต่อไป     สังคีตวิจัยและพัฒนาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ลายมือชื่อนักศึกษา........................................  ปีการศึกษา 2565 ลายมือชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์   ........................................
Description: Master of Music (M.Mus)
ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3941
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61701309.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.