Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4325
Title: EFFECTS OF USING THE STRIPLING MODEL OF INQUIRY ON HISTORICAL REASONING OF UPPER SECONDARY STUDENTS
ผลการใช้รูปแบบการสืบสอบ STRIPLING ที่มีต่อการให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
Authors: Thanawat PREMPREECHA
ธนวัต เปรมปรีชา
Chairat Tosila
ชัยรัตน์ โตศิลา
Silpakorn University
Chairat Tosila
ชัยรัตน์ โตศิลา
TOSILA_C@SU.AC.TH
TOSILA_C@SU.AC.TH
Keywords: รูปแบบการสืบสอบ Stripling
การสอนประวัติศาสตร์
การให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์
THE STRIPLING MODEL OF INQUIRY
TEACHING HISTORY
HISTORICAL REASONING
Issue Date:  4
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The purposes of this research were to study the learning management using the Stripling Model of Inquiry that affects the development of historical reasoning of upper secondary students. The sample of this research consisted of 1 classroom of tenth grade students studying in the first semester of the academic year 2022 in Rittiyawannalai 2 school, Sai Mai District, Bangkok. The instrument used in the experiment were three historical learning management unit plans using the Stripling Model of Inquiry. The research instruments used for data collection were the historical reasoning Assessment. The data was analyzed by arithmetic mean (M), standard deviation (S.D.), and Repeated measures ANOVA. The research findings were summarized as follow the learning management using the Stripling Model of Inquiry resulted on the historical reasoning of students had higher development at .05 level of significance.  
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบ Stripling ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของการให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/10 โรงเรียนฤทธิยะวรรณาลัย ๒ เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือแผนหน่วยการจัดการเรียนรู้เรื่องประเด็นสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยด้วยการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบ Stripling จำนวน 3 แผน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบประเมินการให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ   ผลการวิจัยสรุปว่า การจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสืบสอบ Stripling ส่งผลให้นักเรียนมีพัฒนาการของการให้เหตุผลทางประวัติศาสตร์สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4325
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61262305.pdf6.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.