Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4337
Title: The Development of Cyberbullying Knowledge Test for Upper Secondary School Students
การพัฒนาแบบวัดความรู้การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
Authors: Apichaya TASANANUTARIYA
อภิชญา ทัสนานุตริยะ
Saranya Chanchusakun
สรัญญา จันทร์ชูสกุล
Silpakorn University
Saranya Chanchusakun
สรัญญา จันทร์ชูสกุล
CHANCHUSAKUN_S@SU.AC.TH
CHANCHUSAKUN_S@SU.AC.TH
Keywords: การพัฒนาแบบวัด
การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์
Development of tests
Cyberbullying
Issue Date:  4
Publisher: Silpakorn University
Abstract: The objectives of this research were 1) to construct and verify quality of cyberbullying knowledge test for upper secondary school students, 2) to construct norms of cyberbullying knowledge test for upper secondary school students. The simple of this study was 595 upper secondary school students who have been studying at Office of the Basic Education Commission Nakhonpathom Province, academic year 2022, using Multi-Stage Sampling. Tests create by researcher comprised of 4 options this test 30 item for cyberbullying knowledge as follows: 1) behavior of cyberbullying 2) impact of cyberbullying and 3) prevention of cyberbullying. Data were analyzed by content validity, difficulty, discrimination, Measure of internal consistency from Kuder-Richardson 20 procedure and Normalize T-score The research results were as follows. 1. The consistency index of the content validity of cyberbullying knowledge test items was between 0.60 and 1.00, The difficulty index ranges from 0.23 to 0.79, The discrimination index ranges from 0.20 to 0.65, The reliability from Kuder-Richardson procedure of was 0.75 2. The development of norms for score translation base on Normalized T-score in the range T21 – T77
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความรู้การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 2) หาเกณฑ์ปกติระดับท้องถิ่นของแบบวัดความรู้การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่สร้างขึ้น ตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 595 คน โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครปฐม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โดยใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบวัดความรู้เชิงสถานการณ์เลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ลักษณะพฤติกรรมการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ 2) ผลกระทบจากการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ และ 3) วิธีการรับมือการกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ค่าความเที่ยงแบบสอดคล้องภายในโดยใช้สูตร KR20 และหาเกณฑ์ปกติในรูปแบบของคะแนนมาตรฐานทีปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบวัดความรู้การกลั่นแกล้งทางไซเบอร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ความตรงเชิงเนื้อหามีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00  ค่าความยากอยู่ระหว่าง 0.23 ถึง 0.79 ค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.20 ถึง 0.65 และค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.75 2. ผลการสร้างเกณฑ์ปกติจากการวิเคราะห์คะแนนมาตรฐานทีปกติอยู่ในช่วง T21 – T77
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4337
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61264304.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.