Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4766
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChonthira CHAOBANKRANGen
dc.contributorชลธิรา ชาวบ้านกร่างth
dc.contributor.advisorSakdipan Tonwimonraten
dc.contributor.advisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-02-12T05:45:46Z-
dc.date.available2024-02-12T05:45:46Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued24/11/2023
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4766-
dc.description.abstractThe research objectives were to determine: 1) the transformational leadership of administrators in school under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3 2) the risk management of affiliated schools under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3 and 3) the relationship between the transformational leadership and the risk management under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3. The sample was 97 schools under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3. The two respondents from each school consisted of a school director or acting school director and a teacher, with the total of 194. The research instrument was a opinionnaire regarding the transformational leadership of administrators based on the concept of Kouzes and Posner and the risk management based on the concept of The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO). The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and Pearson’s product–moment correlation coefficient. The research findings revealed that: 1. The transformational leadership of administrators in school under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3 as a whole and as an aspect were at the highest level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; encouraging the heart, modeling the way, enabling others to act, inspiring a shared vision and challenging the process. 2. The risk management of affiliated schools under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3 as a whole and as an aspect were at the highest level. The arithmetic mean ranking from the highest to the lowest were as follows; governance and culture, information communication and reporting, performance, strategy and objective setting and review and revision. 3. The relationship between the leadership and the risk management of affiliated schools under the Suphanburi Primary Educational Service Area Office 3 were at high correlation in positive way, with significantly level at .01en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1 ) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 2 ) การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 3 ) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 จำนวน 97 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน และครู จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 194 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารตามแนวคิดของคูทซ์และโพสเนอร์ และการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนตามแนวคิดของ The Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission (COSO) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การสร้างขวัญและกำลังใจ เป็นต้นแบบนำทาง เพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงานให้ผู้อื่น สร้างแรงบันดาลใจและวิสัยทัศน์ร่วมกัน และกล้าท้าทายต่อกระบวนการ 2. การบริหารความเสี่ยงของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 โดย ภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ การกำกับดูแลกิจการและวัฒนธรรมองค์กร สารสนเทศ การสื่อสารและการรายงาน เป้าหมายผลการดำเนินงาน การกำหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์ และการทบทวนและปรับปรุง 3. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3 มีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวกth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงth
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงth
dc.subjectTRANSFORMATIONAL LEADERSHIPen
dc.subjectSCHOOL RISK MANAGEMENTen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleTHE TRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF ADMINISTRATORS AND RISK MANAGEMENT IN SCHOOL UNDER SUPHANBURI PRIMARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE 3en
dc.titleภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการบริหารความเสี่ยงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSakdipan Tonwimonraten
dc.contributor.coadvisorศักดิพันธ์ ตันวิมลรัตน์th
dc.contributor.emailadvisorsakdipan55@gmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorsakdipan55@gmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620006.pdf5.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.