Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4820
Title: CULTURAL IDENTITY DESIGN FOR COMMUNITY'S PRODUCTS AND COMMERCIAL SPACE GUIDELINES
การออกแบบอัตลักษณ์พื้นที่แสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน และแนวทางการปรับรูปแบบตามขนาดพื้นที่
Authors: Apichart THAVEWAT
อภิชาติ ทวีวัฒน์
Pensiri Chartniyom
เพ็ญสิริ ชาตินิยม
Silpakorn University
Pensiri Chartniyom
เพ็ญสิริ ชาตินิยม
CHARTNIYOM_P@SU.AC.TH
CHARTNIYOM_P@SU.AC.TH
Keywords: การออกแบบอัตลักษณ์
พื้นที่แสดงสินค้า
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
การปรับรูปแบบตามขนาดพื้นที่
IDENTITY DESIGN
SPACE OF COMMUNITY'S PRODUCTS
MODIFICATION GUIDELINES FOLLOWING AREA SIZE
Issue Date:  24
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research on “Cultural identity design for community's products and commercial space guidelines.” is a mixed research, focused to incorporating both quantitative and qualitative methods. The objectives of this research were as follows: 1) to study and analyze the cultural identity characteristics that will be utilized in the community products exhibition area, 2) to design a prototype space based on the concept of creating a community exhibition space identity. and design methods for adjusting the layout according to the size and characteristics of the area, and 3) to create knowledge in allocating space for community product exhibitions which has special characteristics, can change the size. The researcher defined the research area with a focus on creating a new identity for Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. This was achieved by questioning and conducting interviews to gain a clear and accurate understanding of Ayutthaya's identity, which was then analyzed and used as a design guideline. The results revealed that the creation of Ayutthaya's identity for the design of the community products exhibition area was systematically analyzed and synthesized. The design identity can be categorized into four aspects: shape, pattern, color, and material. These identities contribute to clearer recognition and better visualization of the exhibition area's identity. Additionally, they create a memorable and distinctive experience, including the grouping of products in different areas. It is essential to incorporate elements for displaying products, such as shelves, display tables, and hanging rails, which facilitate product presentation and enhance the product's image, thereby instilling more confidence. Consequently, the design of the exhibition area serves as a crucial communication hub with consumers, connecting identity with design a vital factor in spatial creativity."
การวิจัยเรื่อง “การออกแบบอัตลักษณ์พื้นที่แสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน และแนวทางการปรับรูปแบบตามขนาดพื้นที่” เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ทั้งเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ลักษณะอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ที่จะใช้ในพื้นที่แสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน 2) เพื่อออกแบบพื้นที่ต้นแบบตามแนวคิดการสร้างอัตลักษณ์พื้นที่แสดงสินค้าชุมชน และออกแบบวิธีการปรับรูปแบบตามขนาดและลักษณะพื้นที่ 3) เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการจัดสรรพื้นที่แสดงสินค้าชุมชน ที่มีลักษณะพิเศษสามารถปรับเปลี่ยนขนาดได้ ผู้วิจัยได้กำหนดพื้นที่ในการวิจัย โดยมุ่งเน้นการสร้างสรรค์อัตลักษณ์ใหม่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา โดยการสอบถาม, สัมภาษณ์ เพื่อทราบถึงอัตลักษณ์อยุธยาที่ถูกต้องชัดเจน และนำข้อมูลที่ได้รับมาวิเคราะห์อัตลักษณ์อยุธยาสำหรับใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ ผลการวิจัยพบว่า การสร้างสรรค์อัตลักษณ์อยุธยาเพื่อการออกแบบพื้นที่แสดงสินค้าผลิตภัณฑ์ชุมชน ผู้วิจัยได้นำอัตลักษณ์ที่ผ่านการวิเคราะห์และสังเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถแบ่งแยกหมวดหมู่อัตลักษณ์สำหรับงานออกแบบ เป็น 4 หมวดหมู่ ได้แก่ รูปทรงอัตลักษณ์ ลวดลายอัตลักษณ์ สีอัตลักษณ์และวัสดุอัตลักษณ์ ซึ่งอัตลักษณ์เหล่านี้ช่วยเสริมสร้างการจดจำให้ชัดเจนและเห็นภาพอัตลักษณ์ในพื้นที่แสดงสินค้าได้ดียิ่งขึ้น สร้างจุดจดจำที่ดี มีความโดดเด่น ชัดเจน รวมไปถึงการจัดกลุ่มแยกสินค้าในพื้นที่ต่าง ๆ จำเป็นต้องมีองค์ประกอบในการจัดแสดงสินค้า ได้แก่ ชั้นวาง โต๊ะวางแสดงสินค้า ราวแขวน ที่เอื้อต่อการจัดแสดงโชว์สินค้าและสามารถส่งเสริมภาพลักษณ์ให้กับสินค้า สร้างความน่าจดจำ ความเชื่อมั่นให้กับสินค้าเพิ่มมากขึ้น การออกแบบพื้นที่แสดงสินค้าจึงเป็นพื้นที่สำคัญที่ใช้เป็นศูนย์กลางในการสื่อสารไปยังผู้บริโภคและเชื่อมโยงอัตลักษณ์กับการออกแบบที่เป็นปัจจัยสำคัญในการสร้างสรรค์เชิงพื้นที่
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4820
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60158910.pdf22.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.