Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4907
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSumonta LIMNUCHSAWARTen
dc.contributorสุมลฑา ลิ้มนุชสวาทth
dc.contributor.advisorKanlaya Tienwongen
dc.contributor.advisorกัลยา เทียนวงศ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-04-25T03:07:09Z-
dc.date.available2024-04-25T03:07:09Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4907-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to: 1) compare the geo-literacy of sixth grade students before and after using phenomenon-based learning with geoinformatics; 2) compare the creativity in geography of sixth grade students before and after using phenomenon-based learning with geoinformatics, and 3) study the opinions of sixth grade students towards phenomenon-based learning with geoinformatics. The sample of this research consisted of 37 sixth grade students in the Junkrajung Room, studying in the second semester of the academic year 2022, The Demonstration School of Silpakorn University (Early Childhood and Elementary). This research instruments consisted of 1) the unit learning plan using phenomenon-based Learning with geoinformatics; 2) the geo-literacy test; 3) the creativity in geography test, and 4) a questionnaire on the opinion of sixth grade students towards phenomenon-based learning with geoinformatics. The data were analyzed by arithmetic mean, standard deviation, t-test for dependent and content analysis. The results were as follows : 1) The geo-literacy of sixth grade students improved after using phenomenon-based learning with geoinformatics and was significantly higher than before learning at the .05 level. 2) The creativity in geography of sixth grade students improved after using phenomenon-based learning with geoinformatics and was significantly higher than before learning at the .05 level. 3) The sixth grade students’ opinion towards phenomenon-based learning with geoinformatics was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความฉลาดรู้ทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ 2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ห้องจันทร์กระจ่าง จำนวน 37 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน ร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ 2) แบบวัดความฉลาดรู้ทางภูมิศาสตร์ 3) แบบวัดความคิดสร้างสรรค์ทางภูมิศาสตร์ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความฉลาดรู้ทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  2) ความคิดสร้างสรรค์ทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3) ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ อยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความฉลาดรู้ทางภูมิศาสตร์th
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ทางภูมิศาสตร์th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานth
dc.subjectภูมิสารสนเทศศาสตร์th
dc.subjectGeo-literacyen
dc.subjectCreativity in geographyen
dc.subjectPhenomenon-based learning : PBLen
dc.subjectGeoinformaticsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF GEO – LITERACY AND CREATIVITY IN GEOGRAPHY ON ROO LONG TONG THAI BY PHENOMENON – BASED LEARNING WITH GEOINFORMATICS OF SIXTH GRADE STUDENTSen
dc.titleการพัฒนาความฉลาดรู้ และความคิดสร้างสรรค์ทางภูมิศาสตร์ เรื่อง รู้ล่อง ท่องไทย ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับภูมิสารสนเทศศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKanlaya Tienwongen
dc.contributor.coadvisorกัลยา เทียนวงศ์th
dc.contributor.emailadvisorTIENWONG_K@SU.AC.TH
dc.contributor.emailcoadvisorTIENWONG_K@SU.AC.TH
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620127.pdf9.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.