Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5033
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kultida BOONCHO | en |
dc.contributor | กุลธิดา บุญโช | th |
dc.contributor.advisor | Rujiroj Anambutr | en |
dc.contributor.advisor | รุจิโรจน์ อนามบุตร | th |
dc.contributor.other | Silpakorn University | en |
dc.date.accessioned | 2024-08-01T07:08:34Z | - |
dc.date.available | 2024-08-01T07:08:34Z | - |
dc.date.created | 2024 | |
dc.date.issued | 28/6/2024 | |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5033 | - |
dc.description.abstract | This study focuses on examining the usage requirements of public transportation connectivity spaces within the study area, specifically the feeder system, and the enhancement of the public park under the Taksin Bridge to accommodate diverse uses and enhance the value of public spaces. The study process consists of six steps: 1) Study of theories, principles, and case studies theories such as Transit-Oriented Development (TOD), Feeder System, and plaza public spaces. 2) The selection of BTS stations as appropriate study area to serve as a design example for integrated area between the feeder area and a public park. 3) Historical study of the area, surrounding contexts, and physical characteristics. 4) Study of current physical conditions and issues in the study area, usiug observation informal surveys and interviews. 5) Development guidelines for the study area. 6) Proposed design of the feeder area and the park. The study focuses on two main issues: Firstly to studying the principles of connecting public transportation within the area, addressing various issues to design and improve spaces for user convenience, efficiency, and safety. Secondly, to design an integrated public transport areas, emphasising artistic, and social cultural significance. The results from this study on principles and values in design will be used for designing connecting spaces for people from outside the area who travel through, allowing access to activities within the neighbourhood as a unique public park with symbolic significance and effective mixed-use. It serves as a guideline in designing and presenting examples of public transit-connected spaces around wall transit stations that are adaptable for other stations. | en |
dc.description.abstract | โครงการนี้มุ่งเน้นการศึกษาความต้องการ การใช้งานพื้นที่เชื่อมต่อระบบขนส่งสาธารณะที่หลากหลายภายในพื้นที่ศึกษา คือระบบขนส่งมวลชนรอง (Feeder system) รวมถึงการปรับปรุงพื้นที่สวนสาธารณะใต้สะพานตากสิน เพื่อรองรับการใช้งานที่หลากหลาย เสริมสร้างคุณค่าของพื้นที่สาธารณะให้มากขึ้น ขั้นตอนในการศึกษามี 6 ขั้นตอน คือ 1) ศึกษาทฤษฎี แนวความคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ที่เกี่ยวกับทฤษีที่เกี่ยวข้องอย่าง TOD (Transit-Oriented Development) ระบบขนส่งมวลชนรอง (Feeder system) และพื้นที่สาธารณะ (Public Space) 2) เลือกสถานีรถไฟฟ้าที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบขนส่งมวลชนรอง ที่น่าสนใจเหมาะสมแก่การเป็นตัวอย่างการออกแบบพื้นที่รองรับ และมีความพิเศษที่มีสวนสาธารธณะติดต่อเป็นผืนเดียวกัน 3) ศึกษาประวัติความเป็นมาของย่าน การศึกษาบริบทโดยรอบพื้นที่ ลักษณะทางกายภาพ 4) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และปัญหาของพื้นที่ศึกษา โดยมีทั้งการสำรวจ และการสัมภาษณ์ 5) แนวทางการพัฒนาพื้นที่ศึกษา 6) เสนอแบบ รายละเอียดในการออกแบบ โดยการศึกษาโครงการมี 2 ประเด็นที่สำคัญคือ 1) พื้นที่การเชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนรองกับสถานีรถไฟฟ้าสะพานตากสิน โดยการศึกษาหลักการเชื่อมต่อขนส่งสาธารณะภายในพื้นที่ ปัญหาด้านต่าง ๆ เพื่อการออกแบบปรับปรุงพื้นที่เพื่อความสะดวกให้กับผู้ใช้งานทำให้เกิดประสิทธิภาพ 2) การออกแบบให้พื้นที่เกิดการผสมผสานระหว่างพื้นที่ขนส่งสาธารณะกับพื้นที่สวนสาธารณะของย่าน ที่มีคุณค่าทั้งทางศิลปะ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม ผลจากการศึกษาหลักการ และคุณค่าของพื้นที่ศึกษาจะนำมาใช้ในการออกแบบให้เป็นพื้นที่เชื่อมต่อผู้คนจากภายนอกย่านที่ผ่านมาจากการเดินทาง ได้เข้าถึงกิจกรรมภายในย่านเป็นสวนสาธารณะประจำย่านที่มีเอกลักษณ์ และคุณค่าทางสัญลักษณ์ และการใช้งานผสมผสานกันได้ดี เพื่อนำเสนอตัวอย่างการออกแบบพื้นที่เชื่อมต่อขนส่งสาธารณะบริเวณโดยรอบสถานีรถไฟฟ้า ที่สามารถนำไปปรับใช้กับสถานีรถไฟฟ้าที่มีพื้นที่โดยรอบได้ ให้เป็นแนวทางตัวอย่างในการนำไปปรับใช้กับพื้นที่อื่น ๆ อันเป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาพื้นที่ TOD (Transit Oriented Development) ต่อไป | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | Silpakorn University | |
dc.rights | Silpakorn University | |
dc.subject | สวนสาธารณะ | th |
dc.subject | ระบบขนส่งมวลชนรอง | th |
dc.subject | Feeder system | en |
dc.subject | public park | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Design | en |
dc.title | A Study for improvement of the Feeder Systems and the Saphan Taksin BTS Station and the public Park under the Taksin Bridge. | en |
dc.title | การศึกษาเพื่อปรับปรุงพื้นที่เชื่อมต่อระบบขนส่งมวลชนรองกับสถานีรถไฟฟ้าสะพานตากสิน และสวนสาธารณะใต้สะพานตากสิน | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Rujiroj Anambutr | en |
dc.contributor.coadvisor | รุจิโรจน์ อนามบุตร | th |
dc.contributor.emailadvisor | rujianam@gmail.com | |
dc.contributor.emailcoadvisor | rujianam@gmail.com | |
dc.description.degreename | Master of Landscape Architecture (M.L.A.) | en |
dc.description.degreename | ภูมิสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (ภ.สถ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Division of Landscape Architecture | en |
dc.description.degreediscipline | สาขาวิชาภูมิสถาปัตยกรรม | th |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650220011.pdf | 12.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.