Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5061
Title: | AMULETS: THAI’S BELIEFS AND FAITHS TOWARD THE NEW CREATION OF THE CONTEMPORARY CULTURE DESIGN เครื่องรางของขลัง : ความเชื่อ ความศรัทธา สู่การออกแบบเชิงวัฒนธรรมร่วมสมัย |
Authors: | Khanin PHRIWANRAT คณิน ไพรวันรัตน์ Anucha Pangkesorn อนุชา แพ่งเกษร Silpakorn University Anucha Pangkesorn อนุชา แพ่งเกษร PANGKESORN_A@su.ac.th PANGKESORN_A@su.ac.th |
Keywords: | ความเชื่อ ความศรัทธา เครื่องรางของขลัง ศิลปะร่วมสมัย BELIEFS FAITH AMULETS CONTEMPORARY ART |
Issue Date: | 28 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The objectives of this research are to: 1. Study the culture of beliefs and social faith. 2. Study the beliefs and faith in amulets to determine guidelines for designing contemporary amulets and 3. This research is mixed research. Qualitative data is collected through the study of documentary data. Belief phenomena, in-depth interviews, and quantitative data collection from Gen Z people.
The tools used in the research are online questionnaires (quantitative) and interviews (qualitative). Data analysis uses percentages, averages, and standard deviations.
The results showed that:
1. Materials (mass) in the manufacture of hook amulets At present, any material (mass) can be used in production, including: Amulets in digital form
2. The symbol or representation can be applied to be contemporary. It does not affect the change of beliefs.
3. Stories are the most important part of building beliefs and beliefs and reinterpreting amulets or rituals to suit the social context.
4. Belief in nature preservation can be used as a guide to creating amulets in the future.
5. The concept of the economy for sustainability and the concept of the creative economy can be used as mechanisms to motivate today's people.
6. Amulets are a tool to solve social, economic, and environmental problems. งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาวัฒนธรรมความเชื่อ ความศรัทธาทางสังคม ในอดีตช่วงก่อนสถานการณ์โควิด 19 ถึงปัจจุบัน 2. ศึกษาความเชื่อ ความศรัทธาที่มีต่อเครื่องรางของขลัง เพื่อกำหนดแนวทางในการออกแบบเครื่องรางของขลังร่วมสมัยและเพื่อ 3. ออกแบบเครื่องรางของขลังร่วมสมัย ผ่านความเชื่อ ความศรัทธา ต่อเครื่องรางของขลังในปัจจุบัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน มีการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพผ่านการศึกษาข้อมูลเอกสาร ปรากฏการณ์ด้านความเชื่อ การสัมภาษณ์เชิงลึก และการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มคน Gen – Z เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามออนไลน์ (เชิงปริมาณ) และแบบสัมภาษณ์ (เชิงคุณภาพ) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. วัสดุ (มวลสาร) ในการผลิตเครื่องรางขอ ในปัจจุบันสามารถใช้วัสดุ (มวลสาร) ใดก็ได้ในการผลิต รวมไปถึง เครื่องรางของขลังในรูปแบบดิจิทัล 2. สัญลักษณ์หรือตัวแทนนั้นสามารถประยุกต์ให้สามารถร่วมสมัยได้ ไม่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงความเชื่อความศรัทธา 3. เรื่องเล่า นั้นเป็นส่วนสำคัญที่สุดในการสร้างความเชื่อความศรัทธา และมีการตีความหมายใหม่ ให้กับเครื่องรางของขลังหรือพิธีกรรมให้เข้ากับบริบททางสังคม 4. ความเชื่อด้านรักษาธรรมชาติสามารถใช้เป็นแนวทางในการสร้างเครื่องรางของขลังในอนาคตได้ 5. แนวคิดด้านเศรษฐกิจเพื่อความยั่งยืนและแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์สามารถใช้เป็นกลไกหนึ่งในการสร้างแรงจูงใจกับคนในปัจจุบันได้ 6. เครื่องรางของขลัง เป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหา สังคม เศรษฐกิจ และสิ่งแวดล้อมได้ |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5061 |
Appears in Collections: | Decorative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
630430010.pdf | 8.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.