Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5063
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPipat URAKANEen
dc.contributorพิพัฒน์ อุรเคนทร์th
dc.contributor.advisorSupavee Sirinkrapornen
dc.contributor.advisorสุภาวี ศิรินคราภรณ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:16:43Z-
dc.date.available2024-08-01T07:16:43Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5063-
dc.description.abstractThis dissertation aimed to create a conceptual model, an art curriculum, and a design to promote self-empowerment (SEM) and compassion satisfaction (CS) for human service practitioners who experience effects of their work problems which lead to discouragement, fatigue, and holistic drain that causes burnout, secondary traumatic stress, and compassion fatigue. Alleviating approach is to promote SEM and CS to achieve positive mental health. The process of this mixed method research was divided into 3 phases: The 1st phase was to invent the model for enhancing mental well-being and creating the curriculum.  The 2nd phase was to test the effectiveness of the curriculum.  The 3rd phase was to create and test the design. The use of a purposive sampling method which compared results with the 2-group pre-posttest technique. The group was divided into 2, with 10 people in each, totalling 20 people from Mitrphap Shelter, Sarnelli House, and Day Care Centre of GSST. There were 3 outputs obtained which are the M.E.S.E.L.F. model, the art curriculum, and the “Duay Jai” art journey book. The results showed SEM and CS scores with the pretest mean of Group 1 being 122.40 pts. and 28.40 pts., respectively. After attending the curriculum, the mean on the posttest was 141.20 pts. and 42.50 pts., respectively. The pretest mean of Group 2 was 125.00 pts. and 30.40 pts., respectively. After using the art book, the mean on the posttest was 144.20 pts. and 44.80 pts., respectively. The efficiency of the outputs satisfied the research objectives.en
dc.description.abstractดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวคิด หลักสูตรกิจกรรม และผลงานการออกแบบเครื่องมือในการส่งเสริมพลังอำนาจในตนเองและความรู้สึกพึงพอใจในการเห็นอกเห็นใจให้แก่เจ้าหน้าที่งานบริการมนุษย์และผู้ให้บริการทางด้านสังคมสงเคราะห์ที่ประสบกับผลกระทบทางจิตใจจากการปฏิบัติงาน ซึ่งปัจจุบันผู้รับบริการมีลักษณะปัญหาที่หลากหลายและซับซ้อนมากขึ้น นำไปสู่ความรู้สึกท้อแท้ ขาดพลัง อ่อนล้า และลดทอนกำลังกายและใจ เป็นปัจจัยก่อเกิดภาวะหมดไฟในการทำงาน ความเครียดจากประสบการณ์ความทุกข์ในการช่วยเหลือผู้อื่น และความเหนื่อยล้าจากการดูแลด้วยการเห็นอกเห็นใจ และการบรรเทาภาวะเหล่านี้คือการส่งเสริมพลังอำนาจในตนเองและความรู้สึกพึงพอใจในการเห็นอกเห็นใจเพื่อสุขภาพจิตที่ดีอย่างยั่งยืน กระบวนการวิจัยแบบผสมผสานวิธีมีทั้งหมด 3 ระยะคือ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเพื่อคิดค้นแนวคิดส่งเสริมจิตใจและสร้างหลักสูตรกิจกรรมศิลปะ ระยะที่ 2 เป็นการวิจัยเพื่อทดสอบประสิทธิภาพของหลักสูตรกิจกรรมศิลปะ และระยะที่ 3 เป็นการวิจัยเพื่อสร้างสรรค์และทดสอบผลงานการออกแบบ โดยใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง และเปรียบเทียบผลวิจัยแบบ 2 กลุ่มวัดก่อน-หลังการทดลอง โดยจะถูกแบ่งเป็น 2 กลุ่มทดลอง กลุ่มละ 10 คนรวมทั้งสิ้น 20 คนจากศูนย์มิตรภาพ ศูนย์ซารนิลลี่ เฮาส์ และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านศรีชุมพาบาล ผลผลิตที่ได้จากการวิจัยนี้มี 3 ผลงานคือ แนวคิด M.E.S.E.L.F. หลักสูตรกิจกรรมศิลปะ และบันทึกกิจกรรม “ด้วยใจ” ผลการวิจัยพบว่าผลคะแนนพลังอำนาจในตนและความพึงพอใจจากการเห็นอกเห็นใจมีคะแนนเฉลี่ยวัดก่อนของกลุ่มทดลองที่ 1 อยู่ที่ 122.40 คะแนนและ 28.40 คะแนนตามลำดับ หลังการเข้าร่วมหลักสูตรกิจกรรมมีคะแนนเฉลี่ยวัดหลังอยู่ที่ 141.20 คะแนนและ 42.50 คะแนนตามลำดับ และคะแนนเฉลี่ยวัดก่อนของกลุ่มทดลองที่ 2 อยู่ที่ 125.00 คะแนนและ 30.40 คะแนนตามลำดับ หลังการใช้บันทึกกิจกรรมมีคะแนนเฉลี่ยวัดหลังอยู่ที่ 144.20 คะแนนและ 44.80 คะแนนตามลำดับ แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของผลผลิตในโครงการนี้ที่ตรงตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectเจ้าหน้าที่งานบริการมนุษย์th
dc.subjectพลังอำนาจในตนเองth
dc.subjectความรู้สึกพึงพอใจในการเห็นอกเห็นใจth
dc.subjectHUMAN SERVICE PRACTITIONERSen
dc.subjectSELF-EMPOWERMENTen
dc.subjectCOMPASSION SATISFACTIONen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationDesignen
dc.titleDesign for Positive Self: Creativity Contributes Compassionen
dc.titleการออกแบบภวปัจเจก: เครื่องมือสร้างสรรค์เพื่อการเสริมสร้างสภาพจิตใจเชิงบวกแก่ผู้สงเคราะห์th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSupavee Sirinkrapornen
dc.contributor.coadvisorสุภาวี ศิรินคราภรณ์th
dc.contributor.emailadvisorSIRINKRAPORN_S@SU.AC.TH
dc.contributor.emailcoadvisorSIRINKRAPORN_S@SU.AC.TH
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630430023.pdf25.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.