Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5079
Title: | BELIEVE, FAITH, HOPE TO MODULAR SPACE DESIGN FOR SERENITY ความเชื่อ ความศรัทธา ความหวัง สู่การออกแบบพื้นที่ปรับเปลี่ยนรูปแบบได้ เพื่อสันติสุข |
Authors: | Akekapong TREETRONG เอกพงษ์ ตรีตรง Anucha Pangkesorn อนุชา แพ่งเกษร Silpakorn University Anucha Pangkesorn อนุชา แพ่งเกษร PANGKESORN_A@su.ac.th PANGKESORN_A@su.ac.th |
Keywords: | ความเชื่อ ความศรัทธา ความหวัง สันติสุข สัญญะ พื้นที่แห่งสันติสุข คนเมือง Believe Faith Hope Peace Semiotics Serenity Space Urban Living |
Issue Date: | 28 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The purpose of this research comprises 1) Principles of belief, faith, and hope from three religions to find relationships and create peace between people with people, and space. 2) Semiotic theory of space in the Bible and the physical environment, relevant theories, and positive behaviors to determine creative and design spaces for peace. 3) Designing the module space of peace and activities promoting peace, integrate together to create peace in the daily life of city people.
This research is a mixed method. The researcher uses a documentary along with survey research. Using an in-depth interview and analyze the results from the experiment target population: qualitative: 10 pastors and experts and quantitative: general group of 400 people, comprising Buddhists, Christians, and Muslims, at Wat Chonprathan Rangsarit, Hope of Bangkok Church, Darul Muttaqien Mosque Nonthaburi.
The results of this research were as follows
1. The space influences human behavior, belief activities, it has an effect on peace, hope and faith through a peaceful, in a semiology format.
2. The conclusions of the research process and target groups of 3 main religions, symbolic in the Bible and Christian activities towards creating a peaceful space.
3. Space can be disassembled to create a relationship with the activity by designing an Online and Offline in order to the target audience can feel peaceful.
Suggestions, academically utilize positive symbolic in concrete designs. Integrating both online and offline to develop media and peace products. In policy and practice create into disassembled peace products. Further research is needed to develop peaceful spaces in buildings and online for the encourage positive thinking among the city people. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หลักความเชื่อ ความศรัทธา ความหวัง จากสามศาสนาเพื่อค้นหาความสัมพันธ์ และการสร้างสันติสุขระหว่างคนกับคน และคนกับพื้นที่ 2) ทฤษฎีสัญญะวิทยาของพื้นที่ในเนื้อหาคริสตธรรมคัมภีร์และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องตลอดจนพฤติกรรมเชิงบวกเพื่อกำหนดแนวทางสร้างสรรค์ และ การออกแบบพื้นที่เพื่อสันติสุข 3) การออกแบบพื้นที่โมดูลแห่งสันติสุข และกิจกรรมส่งเสริมสันติสุข บูรณาการผสานกันเพื่อสร้างสันติสุขในชีวิตประจำวันของคนเมือง เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed method) ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร (Documentary) ควบคู่ไปกับการวิจัยเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ผลจากการทดลอง ประชากรกลุ่มเป้าหมาย (Target population) เชิงคุณภาพ จากศิษยาภิบาลและผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 10 คน เชิงปริมาณ กลุ่มบุคคลทั่วไป จำนวน 400 คน คือกลุ่มคนที่นับถือศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ และศาสนาอิสลาม วัดชลประทานรังสฤษฏ์ จังหวัดนนทบุรี คริสตจักรความหวังกรุงเทพมหานคร และมัสยิด ดารุลมุดตากีน จังหวัดนนทบุรี ผลการวิจัย ข้อค้นพบตามวัตถุประสงค์ 1. พบว่า พื้นที่มีผลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ กิจกรรมทางความเชื่อ มีผลต่อสันติสุขเกิดความหวัง ความศรัทธา ผ่านพื้นที่สงบ สันติ ด้วยรูปแบบตามหลักสัญญะวิทยา 2. พบว่า ผลสรุปจากกระบวนการวิจัย และกลุ่มเป้าหมาย 3 ศาสนาหลัก สัญญะในคริสตธรรมคัมภีร์และกิจกรรมคริสเตียนสู่การสร้างสรรค์พื้นที่สันติสุข โดยเชื่อมโยงกับกิจกรรมเชิงบวก 3. พบว่า การสร้างสรรค์พื้นที่ถอดประกอบได้ ให้เกิดความสัมพันธ์กับกิจกรรม โดยพัฒนาพื้นที่จากสัญญะเชิงบวก สู่การออกแบบพื้นที่สังคมออนไลน์และพื้นที่กายภาพเปลี่ยนแปลงรูปแบบได้ผสานกัน (Online to Offline) เพื่อกลุ่มเป้าหมายได้สัมผัสสันติสุขในชีวิตประจำวัน ข้อเสนอแนะ ทางวิชาการ นำสัญญะเชิงบวกมาใช้ในการออกแบบเป็นรูปธรรม บูรณาการพื้นที่สังคมออนไลน์และกายภาพ พัฒนาเป็นสื่อและผลิตภัณฑ์สันติสุขให้กับสังคม เชิงนโยบาย และเชิงปฏิบัติ นำมาสร้างสรรค์เป็นผลิตภัณฑ์สันติสุขถอดประกอบได้ วิจัยต่อยอดเพื่อพัฒนาพื้นที่สันติสุขที่แทรกตัวอยู่ในอาคาร และกิจกรรมออนไลน์ในชีวิตประจำวัน เพื่อการฉุกคิดในทางดีของคนเมือง |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5079 |
Appears in Collections: | Decorative Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
640430044.pdf | 23.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.