Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5209
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPreeyaphorn JAINIMen
dc.contributorปรียาพร ใจนิ่มth
dc.contributor.advisorOrapin Sirisamphanen
dc.contributor.advisorอรพิณ ศิริสัมพันธ์th
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-01T07:22:03Z-
dc.date.available2024-08-01T07:22:03Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5209-
dc.description.abstractThis purposes of this research were to: 1) compare the thinking abilities according to Yonisomanasikara concerning family law among the eleventh grade students before and after learning using the Jurisprudential Inquiry Model, 2) compare the learning outcomes regarding family law among the eleventh grade students before and after learning using the Jurisprudential Inquiry Model, and 3) study the opinions of the eleventh grade students towards the learning arrangement using the Jurisprudential Inquiry Model. The sample group in the research comprised 39 students from class 5/12 at Uttaradit School, Mueang District, Uttaradit Province, under the Jurisdiction of the Secondary Education Service Area Office Phitsanulok – Uttaradit, during the second semester of the 2023 academic year. The sample was selected using cluster random sampling. The tools used in the research consisted of 1) lesson plans, 2) a learning outcomes test, 3) a thinking ability test according to Yonisomanasikara, and 4) a questionnaire on students' opinions towards the Jurisprudential Inquiry Model. Data were analyzed using mean (M), standard deviation (S.D.), and t-test for dependent. The findings revealed that: 1) The thinking abilities according to Yonisomanasikara concerning family law were significantly higher after learning through the Jurisprudential Inquiry Model at the 0.05 level, 2) The learning outcomes regarding family law were significantly higher after learning through the Jurisprudential Inquiry Model at the 0.05 level, and 3) The overall student opinions towards the learning arrangement using the Jurisprudential Inquiry Model were at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เรื่องกฎหมายแพ่งว่าด้วยครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน 2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายแพ่งว่าด้วยครอบครัวของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน 3) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน  กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/12 จำนวน 39 คน โรงเรียนอุตรดิตถ์ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์  ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ได้มาจากวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้  2) แบบวัดผลการเรียนรู้ 3) แบบวัดความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (M) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ เรื่องกฎหมายแพ่งว่าด้วยครอบครัว หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้านสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ผลการเรียนรู้ เรื่อง กฎหมายแพ่งว่าด้วยครอบครัว หลังเรียนโดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้านสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้านth
dc.subjectความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการth
dc.subjectJURISPRUDENTIAL INQUIRY MODELen
dc.subjectTHINKING ABILITIES ACCORDING TO YONISOMANASIKARAen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleEFFECTS OF THE JURISPRUDENTIAL INQUIRY MODEL ON THINKING ABLITIES ACCORDING TO YONISOMANASIKARA IN THE ELEVENTH GRADE STUDENTS.en
dc.titleผลการใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบซักค้าน ที่มีต่อความสามารถในการคิดตามหลักโยนิโสมนสิการ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorOrapin Sirisamphanen
dc.contributor.coadvisorอรพิณ ศิริสัมพันธ์th
dc.contributor.emailadvisorosirisamphan@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorosirisamphan@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineCurriculum and Instructionen
dc.description.degreedisciplineหลักสูตรและวิธีสอนth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650620131.pdf4.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.