Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5248
Title: Marketing Mix 4E that Influence Participation in the Phra Pradaeng Songkran Festival
ส่วนประสมการตลาด 4Es ที่มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง
Authors: Supissara WONGAKKARATSAKUL
ศุภิสรา ว่องอัครัชสกุล
Santidhorn Pooripakdee
สันติธร ภูริภักดี
Silpakorn University
Santidhorn Pooripakdee
สันติธร ภูริภักดี
santidhorn@gmail.com
santidhorn@gmail.com
Keywords: งานประเพณีสงกรานต์พระประแดง
กลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาด 4Es
คุณภาพการบริการ
เทศกาลท้องถิ่น
Phra Pradaeng Songkran Festival
Marketing Mix 4Es
Service Quality
Local Festivals
Issue Date:  28
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This Article aimed to study (1) the marketing mix 4Es that influences participation in the Phra Pradaeng Songkran Festival 2) the service quality that influences participation in the Phra Pradaeng Songkran Festival. The sample was who living in Samut Prakan province. The instrument for collecting data was questionnaires. Analysis data by percentage, mean, standard deviation and test the hypothesis by Inferential Statistics Analysis is Multiple Regression Analysis The result of the study found that: 1) the marketing mix 4Es has an influence on participation in the Phra Pradaeng Songkran Festival statistically, with a significant at the 0.05 consistent with the hypothesis set at 55.4. Evangelism had the highest influence, follows by exchange, experience, and everywhere. 2) Service quality, which consists of empathy and reliability, significantly influences participation in the Phra Pradaeng statistically, with a significant at the 0.05 consistent with the hypothesis set at 42.7. As for variables that have no influence on participation in the Phra Pradaeng Songkran Festival, there are 3 variables: responsiveness, tangibility, and assurance.
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาด 4Es ที่มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง 2) เพื่อศึกษาคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics Analysis) คือ สถิติวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ผลการศึกษาพบว่า 1) ส่วนประสมการตลาด 4Es มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ร้อยละ 55.4 โดยด้านการสร้างความสัมพันธ์มีอิทธิพลมากที่สุด รองลงมาด้านความคุ้มค่า การสร้างประสบการณ์ และด้านการเข้าถึงผู้บริโภค ตามลำดับ 2) คุณภาพการบริการ ประกอบด้วย ความเอาใจใส่ และความน่าเชื่อถือ มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ร้อยละ 42.7 ส่วนตัวแปรที่ไม่มีอิทธิพลในการเข้าร่วมงานประเพณีสงกรานต์พระประแดง มี 3 ตัวแปร ได้แก่ การตอบสนองความต้องการ สิ่งที่สัมผัสจับต้องได้ และการให้ความมั่นใจ
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5248
Appears in Collections:Management Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
661220047.pdf3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.