Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5346
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKanapod KRAISAMUTen
dc.contributorคณพศ ใครสมุทรth
dc.contributor.advisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.advisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.otherSilpakorn Universityen
dc.date.accessioned2024-08-30T02:27:31Z-
dc.date.available2024-08-30T02:27:31Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued28/6/2024
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5346-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to determine 1) the administrator’s adversity quotient of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office 2) the high performance organization of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office and 3) the relationship between administrator’s adversity quotient and high performance organization of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office. The sample of this research consists 86 schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office. The respondents from each school consisted of one school administrator and one teacher, in the total of 172 respondents. The instrument employed for data collection was a opinionnaire about the administrator’s adversity quotient concept based on Stoltz and high performance organization concept based on Linder and Brooks. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and Pearson' s Product Moment Correlation Coefficient.  The research findings were as follows: 1. The administrator’s adversity quotient of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office, as a whole and an individual, were at the highest level. The arithmetic mean ranking from the highest to lowest were as follows; 1) origin and ownership, 2) endurance, 3) control and 4) reach.  2. The high performance organization of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office, as a whole and an individual, were at the highest level. The arithmetic mean ranking from the highest to lowest were as follows; 1) passionate, 2) open and collaborative, 3) accountable, 4) innovative and flexible, 5) outcome – oriented and 6) client – centered. 3. The relationship between administrator’s adversity quotient and high performance organization of schools under the Samutsakhon Primary Educational Service Area Office were in a high correlation with a significance level at .01.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) ความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัด สำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร 2) ความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารสถานศึกษากับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร จำนวน 86 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลสถานศึกษาละ 2 คน ประกอบด้วยผู้อำนวยการหรือรองผู้อำนวยการสถานศึกษา จำนวน 1 คน และครู จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น 172 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารสถานศึกษา ตามแนวคิด สทอล์ซ และความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา ตามแนวคิด ลินเดอร์และบรุคส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับ ค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ความสามารถในการรับรู้สาเหตุและความรับผิดชอบ 2) ความสามารถในการอดทนต่อความยืดเยื้อของปัญหา 3) ความสามารถในการควบคุม และ 4) ความสามารถในการรับรู้ขอบเขตผลกระทบของปัญหา ตามลำดับ 2. ความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน โดยเรียงลำดับ ค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อย ดังนี้ 1) ความกระตือรือร้น 2) การเปิดกว้างและร่วมมือ 3) ความรับผิดชอบ สามารถรายงานและตรวจสอบได้  4) การสร้างสรรค์นวัตกรรมและมีความยืดหยุ่น 5) มุ่งเน้นผลลัพธ์ และ 6) มุ่งเน้นผู้รับบริการหรือกลุ่มเป้าหมาย ตามลำดับ 3. ความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารกับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยเป็นความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงth
dc.language.isoth
dc.publisherSilpakorn University
dc.rightsSilpakorn University
dc.subjectความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคth
dc.subjectองค์กรสมรรถนะสูงth
dc.subjectadversity quotienten
dc.subjecthigh performance organizationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleADVERSITY QUOTIENT OF ADMINISTRATORS AND HIGH PERFORMANCEORGANIZATION OF SCHOOLS UNDER THE SAMUTSAKHON PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICEen
dc.titleความฉลาดในการแก้ไขอุปสรรคของผู้บริหารกับความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาครth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorVorakarn Suksodkiewen
dc.contributor.coadvisorวรกาญจน์ สุขสดเขียวth
dc.contributor.emailadvisorjee1199@yahoo.com
dc.contributor.emailcoadvisorjee1199@yahoo.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
620620003.pdf6.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.