Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/637
Title: โครงการออกแบบ ชุดปลูกต้นไม้ตกแต่งบ้านเพื่อการบำบัด
Other Titles: RESEARCH AND DEVELOPMENT OF PLANT MODULE DESIGN FOR CHILL-LAXING
Authors: จันทร์เจริญกิจ, ณัฏฐ์กานต์
Chanjaroenkit, Nattakan
Keywords: ผลิตภัณฑ์ชุดปลูกต้นไม้
การตกแต่ง
การผ่อนคลาย
PLANT MODULE DESIGN
DECORATION
RELAXZTION
Issue Date: 2-Aug-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อออกแบบผลิตภัณฑ์ตกแต่งพื้นที่ โดยนำเสนอแนวทาง ใหม่ในสุนทรียะเชิงธรรมชาติของที่พักอาศัย โดยการศึกษาดำเนินการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้แบบสอบถาม จาก กลุ่มเป้าหมายจำนวน 150 คน และการทดลองเกี่ยวกับไฟฟ้าพลังงานงานดิน โดยนำข้อมูลที่ได้มาใช้ ในการออกแบบ และแบบประเมินเป็นเครื่องมือในการทำวิจัย โดยได้ทำการสอบถามความพึงพอใจ และความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์จากผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 4 คน จากผลการวิจัย แนวคิดโดยรวมของผลิตภัณฑ์ มีความน่าสนใจ และน่าจะเป็นประโยชน์ ต่อการช่วยบำบัดความเครียด โดยผ่านกิจกรรมการปลูกต้นไม้ โดยมีรูปแบบ รูปทรงและขนาด ที่ เหมาะสมต่อการใช้งาน กับการตกแต่งในปัจจุบัน ด้านประโยชน์ใช้สอยมีความลงตัวของการใช้งาน และการติดตั้งที่หลากหลาย สามารถนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม ในแต่ละสภาพพื้นที่ ตั้งแต่พื้นที่ ขนาดเล็ก จนถึงพื้นที่กว้าง การนำเสนอรูปแบบของระบบที่เกี่ยวข้อง มีความเหมาะสม ซึ่งชี้ให้เห็นถึง ความเป็นไปได้ของผลิตภัณฑ์ ส่วนทางด้านวัสดุที่ใช้ในตัวผลิตภัณฑ์ มีความเหมาะสม The study aimed to design the decorative product that proposed a new way of natural aesthetics for residence. The study is a mixed methods rely on both qualitative research and quantitative research. Questionnaires collecting data from 150 respondents and earth power test were employed. The collected data was applied to design the product. Evaluation forms were used as research instruments to obtain satisfaction and feasibility level of the product from 4 experts. The overall results showed that, the product was interesting and beneficial to stress therapy via planting activity. The product had style, shape and size appropriate for utility and decoration. In terms of usability, the product was usable and suitable for different installations. It was adaptable to diverse locations including compact and large areas. The proposed model of related system was appropriate, indicating the feasibility of the product. The material used to produce the product was appropriate.
Description: 55155306 ; สาขาวิชาการออกแบบผลิตภัณฑ์ -- ณัฏฐ์กานต์ จันทร์เจริญกิจ
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/637
Appears in Collections:Decorative Arts



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.