Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/653
Title: การออกแบบอัตลักษณ์สินค้าจังหวัดปทุมธานีจากหัตถกรรมเศษผ้า
Other Titles: PATHUM THANI PROVINCE PRODUCT IDENTITY DESIGN FROM RAG HANDICRAFTS
Authors: ช้อยเรือง, ศิรินฤมล
Choyrueng, Sirinarumon
Keywords: อัตลักษณ์สินค้าจังหวัดปทุมธานี
หัตถกรรมจากเศษผ้า
IDENTITY
PATHUMTHANI
CRAFT FROM RAG
Issue Date: 5-Aug-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบอัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานีและพัฒนารูปแบบสินค้าด้วยหัตถกรรมจากเศษผ้า ของกลุ่มอาชีพสตรีแม่บ้านบางพูน จังหวัดปทุมธานี เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและสื่อสารอัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานี การด าเนินงานวิจัย ใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานี แล้วสร้างเครื่องมือในการหาทัศนคติของประชากรที่มีต่ออัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานี โดยค้นคว้าและวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. อัตลักษณ์จังหวัดปทุมธานี 2. หลักการออกแบบลวดลาย 3. แนวคิดลักษณะการออกแบบสัญลักษณ์ที่ดี 4. การพัฒนารูปแบบสินค้า 5. ข้อมูลสุนทรีย์ศาสตร์ การประเมินผลงานออกแบบ ด าเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ และกลุ่มอาชีพสตรีแม่บ้านบางพูน จ านวน 100 คน มีผลการวิจัยดังนี้ 1. ความพึงพอใจของกลุ่มอาชีพสตรีแม่บ้านบางพูนที่มีต่องานออกแบบอยู่ที่ระดับดี 2. เพิ่มลวดลายและสินค้าจากเศษผ้า 3. เน้นข้อมูลด้านหัตถกรรมเศษผ้าแสดงให้เห็นถึงงานด้านหัตถกรรมน ามาใช้งานได้หลากหลาย 4. มีข้อเสนอ แนะเรื่องการขาดการวิเคราะห์คุณสมบัติของวัสดุที่น ามาใช้ในการออกแบบเช่น การใช้เศษผ้าแบบจ าแนกประเภทชนิด ข้อจ ากัดของเศษผ้าแต่ละขนาดสามารถน าไปใช้งานกับสินค้าประเภทใดได้บ้าง The research aims to study knowledge of identity of Pathumtani province and develop handicraft products from remnant of fabrics by “Bang Poon” housewife group to be able to increase the value of products and also communicate to identity of Pathumtani province obviously by collecting information of identity of Pathumtani province and creating tools and methods to find out how populations perceive the identity of Pathumtani province in order to analyze information accordingly. 1. The identity of Pathumtani province 2. Design of patterns 3. Ideas to design good symbols 4. Product development 5. Aesthetics information The research was evaluated by specialists of design and 100 members of “Bang Poon” housewife group. The results of the research: 1. The level of satisfaction of “Bang Poon” housewife group is good. 2. To develop patterns and products from remnant of fabrics. 3. To support information of handicrafts that can be used various products and applications. 4. Lacking of analysis material properties, which used for design.To propose usages of types of fabric remnants and applications. Different sizes of fabric remnants can be used for different product types properly.
Description: 57156333 ; สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ -- ศิรินฤมล ช้อยเรือง
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/653
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57156333 ศิรินฤมล ช้อยเรือง.pdf57156333 ; สาขาวิชาศิลปะการออกแบบ -- ศิรินฤมล ช้อยเรือง9.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.