Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/676
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกองพิลา, ทวิช-
dc.contributor.authorKongpila, Twist-
dc.date.accessioned2017-08-31T02:45:13Z-
dc.date.available2017-08-31T02:45:13Z-
dc.date.issued2559-07-29-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/676-
dc.description54054205 ; สาขาวิชาสถาปัตยกรรม -- ทวิช กองพิลาen_US
dc.description.abstractแฟร็กทัล (Fractal) การทำซ้ำรูปแบบตัวเองในสัดส่วนที่แตกต่างและหลากหลาย เป็นวิธีการจัดเรียงตัวเองที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่มนุษย์ได้ทำการสังเกตุและศึกษา วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาวิธีการสร้างสถาปัตยกรรมด้วยวิธีการที่เรียกว่า “แฟร็กทัล” เพื่อนำไปสู่ความหลากหลายในการออกแบบโดยมุ่งเน้นไปที่ประเภทอาคารแบบพักอาศัยรวมให้เห็นความแตกต่างระหว่างการออกแบบโดยวิธีการอื่นกับวิธีการแบบแฟร็กทัล โดยวิธีการศึกษานั้นเริ่มจากการทดลองสร้างรูปทรงต่าง ๆ ด้วยวิธีการแบบแฟร็กทัลจากนั้นนำวิธีการสร้างรูปทรงนี้ไปใช้กับการออกแบบอาคาร โดยประเด็นหลักของการทดลองอยู่ที่วิธีการแบบแฟร็กทัล จะช่วยให้การสร้างที่อยู่อาศัยที่หนาแน่นนั้นเพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีกับบริบทโดยรอบได้อย่างไร รวมไปถึงสามารถสร้างสุขลักษณะที่ดีให้กับการอยู่อาศัย เช่น การระบายอากาศหรือการรับแสงธรรมชาติด้วยได้หรือไม่ จากการศึกษาทดลองพบว่าเมื่อเรานำวิธีการสร้างพื้นที่แบบแฟร็กทัลเข้ามาใช้ด้วยแล้ว สถาปัตยกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นสถาปัตยกรรมที่มีความสัมพันธ์กับบริบทมากขึ้น โดยความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นนั้นจะเกิดขึ้นในรูปแบบและขนาดที่หลากหลายแตกต่างกันไปตามสภาพของบริบท รวมถึงจะทำให้รูปแบบการใช้ชีวิตในพื้นที่เดิมนั้นเปลี่ยนไปด้วย A fractal is a never-ending pattern. Fractals are infinitely complex patterns that are self-similar across different scales. They are created by repeating a simple process over and over in an ongoing feedback loop. Driven by recursion, fractals are images of dynamic systems This thesis is focusing on the design approach in architecture. To find a distinctive approach and to challenge the limits of architecture. The center of the study is “Fractal methodology”. It is to propose and experiment the possibilities of the residential building typology as it already has the “fractal” character. The residential building has the greatest amount of variation and it could be compared easily with the new approach that this thesis has focused on. The study is of three steps: first, detailed studying on recursion process; second, reinterpreting the process; and third, applying to architectural design. The focus is to create high-density residential buildings that have strong relationship with surrounding and provide sufficient living quality. From the final design result, this study demonstrates unique quality and promising design solutions that could suggest a better possibilities for the residential building design in various scale and many levels through fractal methodology.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectแฟร็กทัลen_US
dc.subjectการประยุกต์en_US
dc.subjectเรขาคณิตเศษส่วนen_US
dc.subjectความคล้ายตนเองen_US
dc.subjectFRACTALen_US
dc.subjectFRACTAL GEOMETRYen_US
dc.titleเรขาคณิตกับสถาปัตยกรรม : การแปลงความสัมพันธ์ทางเรขาคณิตสู่การออกแบบสถาปัตยกรรมen_US
dc.title.alternativeGEOMETRY AND ARCHITECTURE: TRANSFORMING RELATIONSHIP OF GEOMETRY INTO ARCHITECTURE DESIGNen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Architecture

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54054205 ทวิช กองพิลา.pdf14.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.