Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/724
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | คะเชนทร์, ณัฐฐานิตย์ | - |
dc.contributor.author | KACHEN, NATTANIT | - |
dc.date.accessioned | 2017-08-31T03:16:27Z | - |
dc.date.available | 2017-08-31T03:16:27Z | - |
dc.date.issued | 2559-08-02 | - |
dc.identifier.uri | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/724 | - |
dc.description | 54052201 ; สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม --ณัฐฐานิตย์ คะเชนทร์ | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาพัฒนาการการออกแบบผังเมืองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ในด้านของนโยบายและการออกแบบผังเมือง โดยศึกษาถึงอิทธิพลที่ส่งผลต่อการออกแบบผังและผลสะท้อนที่มีต่อผู้คนในสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรมโดยรวม ขอบเขตการศึกษาประกอบด้วย ผังเมืองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่เมืองใหม่ลพบุรี ผังนครหลวง(สระบุรี) โครงการนครบาลเพชรบูรณ์ และโครงการพุทธมณฑลบุรีเป็นหลัก เนื้อหาที่ท าการศึกษา ประกอบไปด้วย ประวัติศาสตร์และรูปแบบผังเมือง ในช่วงพ.ศ.2475-2487 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมด าเนินการศึกษา และอ้างอิงข้อมูลเอกสารเป็นหลัก เพื่ออธิบายบริบททางประวัติศาสตร์ สังคม นโยบายของภาครัฐ และผลสะท้อนที่เกิดจากการผังเมืองในสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามในช่วงปีพ.ศ. 2475-2487 เพื่อความรู้ความเข้าใจพัฒนาการทางการผังเมือง โดยเฉพาะความเชื่อมโยงของผังเมืองลพบุรี สระบุรี และเพชรบูรณ์ จากการศึกษาพบว่าการออกแบบผังเมืองสมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามเริ่มมีการด าเนินการจัดการวางแผนงานตามแบบวิชาการผังเมืองสมัยใหม่ ส่วนการออกแบบผังเมือง และรูปแบบผัง เป็นแบบที่พัฒนามาจากผังเมืองของชาติตะวันตกในช่วงร่วมสมัยเดียวกัน (ต้นคริสต์ศตวรรษ ที่ 20) ทั้งนี้การผังเมืองสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังเป็นส่วนหนึ่งของนโยบายสร้างชาติและไทยอารยะ ซึ่งสะท้อนอุดมการณ์ทางการเมือง และความเป็นเอกภาพตามแบบลัทธิฟัสซิสม์อีกด้วย The purpose of this thesis is to study design and development of urban planning in the days of President Field Marshal P. Pibulsongkram, in the aspects of policy design and urban planning. To find out the influences on urban planning design and reflection of people in the society, culture and economic. The education’s scope of urban planning from 1932 to 1944 C.E. which project on the Pibulsongkram government at Lopburi, Saraburi and Phetchabun. Research methodology in History of Architecture. The study were to exmine the historical context, society, government policy, and the modern urban planning reflection, during the year 1932-1944 C.E. To the understanding of the urban planning’s development and planning of connection of the Lopburi, Saraburi and Phetchabun. The results of the study were as follows : 1) The urban design of President Field Marshal P. Pibulsongkram began the age of modern urban planning design, 2) The designs were derived and developed from the urban planning of the West in the same period (20th century), 3) The urban planning of President Marshal PibulsongKram, is a part of the policy “nation building”, civilized Thai, Political ideal and Fascism. | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยศิลปากร | en_US |
dc.subject | การผังเมือง | en_US |
dc.subject | จอมพล ป. พิบูลสงคราม | en_US |
dc.subject | การผังเมืองสมัยใหม่ | en_US |
dc.subject | THAILAND URBAN PLANNING | en_US |
dc.subject | PRESIDENT FIELD MARSHAL P. PIBULSONGKRAM | en_US |
dc.subject | MODERN URBAN PLANNING | en_US |
dc.title | การออกแบบผังเมืองสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม (พ.ศ.2475-2487) : ลพบุรี,สระบุรี และเพชรบูรณ์ | en_US |
dc.title.alternative | URBAN PLANNING DESIGN DURING FIELD MARSHAL PIBULSONGKHRAM PERIOD (1932-1944 C.E.) : CASE STUDIES OF LOPBURI,SARABURI AND PHETCHABUN. | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | Architecture |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
54052201 ณัฐฐานิตย์ คะเชนทร์.pdf | 54052201 ; สาขาวิชาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม -- ณัฐฐานิตย์ คะเชนทร์ | 12.76 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.