Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/743
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorตันอิสรกุล, มนต์ศักดิ์-
dc.contributor.authorTanisarakul, Monsak-
dc.date.accessioned2017-08-31T03:22:47Z-
dc.date.available2017-08-31T03:22:47Z-
dc.date.issued2559-07-13-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/743-
dc.description54701309 ; สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา -- มนต์ศักดิ์ ตันอิสรกุลen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประวัติการก่อตั้งของคณะนักร้องประสานเสียงสยาม และปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของคณะนักร้องประสานเสียงสยามในช่วงทศวรรษแรกของการก่อตั้ง 5 ด้าน ได้แก่ สมาชิก การเรียนการสอน รายการแสดง สิ่งอำนวยความสะดวก และงบประมาณ กลุ่มประชากรในการศึกษาได้แก่ผู้ก่อตั้ง ผู้ฝึกสอน และสมาชิกในคณะนักร้องประสานเสียงสยาม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ของผู้ก่อตั้ง ผู้ดูแลคณะนักร้องประสานเสียงสยาม และสมาชิกคณะนักร้องประสานเสียงสยาม ผลการวิจัยพบว่า 1. คณะนักร้องประสานเสียงสยามก่อตั้งขึ้นในปี พ.ศ. 2546 โดยบุคคล 3 คน ได้แก่ อาจารย์แมนนริศ อำมฤคขจร อาจารย์สันติ ลุนเผ่ และ อาจารย์วุฒิพันธุ์ พงษ์ธนเลิศ มีเป้าหมายให้คณะนักร้องประสานเสียงสยามเป็นแหล่งพบปะของผู้ที่ชื่นชอบการขับร้องประสานเสียง และใช้เป็นสถานที่ฝึกสอนการขับร้องประสานเสียง 2. ปัจจัยด้านสมาชิกของคณะนักร้องประสานเสียงสยาม เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลให้คณะนักร้องประสานเสียงสยามมีความเปลี่ยนแปลงในด้าน วัตถุประสงค์ การเรียนการสอน และการแสดง โดยมีสาเหตุจากพื้นฐานทางด้านดนตรีสากลของสมาชิกเป็นสิ่งส าคัญที่ท าให้คณะนักร้องประสานเสียงสยามต้องเปลี่ยนวัตถุประสงค์และวิธีการเรียนการสอน ในช่วงระยะเวลา 10 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 – 2556 ความสามารถในการขับร้องประสานเสียงของสมาชิกมีความเปลี่ยนแปลงมากที่สุด สมาชิกใหม่ที่เข้าร่วมตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป็นต้นมา ส่วนใหญ่ไม่มีพื้นฐานด้านการขับร้องประสานเสียง ทำให้คณะนักร้องประสานเสียงสยามต้องจัดชั่วโมงการเรียนการสอนเพิ่มมากขึ้น มีการเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน และปรับเปลี่ยนบทเพลงที่ขับร้องประสานเสียงให้มีความง่ายในการฝึกซ้อม This research aims to 1) study the history of the Shyam choir and 2) study the factors that affect the development of the Shyam choir during the first decade of its inception. There are five topics are include in the education field. 1) Members 2) teaching 3) concerts and shows4) facilities and5) Budget. The target group include founder of Shyam choir administrator and Shyam choir membership during 2004 – 2013. Research instruments were comprised interview forms for founders’ trainers and members of the Shyam choir Results indicated as follows: 1. The foundation of Shyam choir is a result of three people including Mannaris Amaruekajorn Santi Lunpae and Wutthiphan Phongtanalert. For the purpose of assemble people who are interested in chorus and the make community artistic excellence and recognition. In 2009 are change purpose for establish the Shyam choir to learning opera singing technique and theory of music. The main reason from new members in Shyam choir are no background in music 2. A major factor contributing the Shyam choir to change the purpose of teaching and performing with the underlying caused by the background music of members of the Shyam choir. Change the purpose and methods of teaching. During the 10 year period since 2004 to 2013, the ability of the choir members have changed the most. New members who joined since 2009, the most fundamental is the chorus. Make Shyam choir required teaching hours increase. Changing patterns of teaching and modify the song chorus with ease training.en_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectประวัติen_US
dc.subjectพัฒนาการen_US
dc.subjectคณะนักร้องประสานเสียงen_US
dc.subjectHISTORYen_US
dc.subjectDEVELOPMENTen_US
dc.subjectCHOIRen_US
dc.titleประวัติและพัฒนาการคณะนักร้องประสานเสียงสยาม ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2556en_US
dc.title.alternativeHISTORY AND DEVELOPMENT OF SHYAM CHOIR BETWEEN 2004 AND 2013en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54701309 มนต์ศักดิ์ ตันอิสรกุล.pdf54701309 ; สาขาวิชาสังคีตวิจัยและพัฒนา -- มนต์ศักดิ์ ตันอิสรกุล14.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.