Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/772
Title: สัญญะแห่งสังขาร
Other Titles: SIGN OF BODY
Authors: ธนานันท์, ภาสกร
Thananan, Pasakorn
Keywords: จิตรกรรมแนวเหมือนจริง
สัญญะ
สังขาร
REALISTIC PAINTING
SIGN
BODY
Issue Date: 4-Jan-2559
Publisher: มหาวิทยาลัยศิลปากร
Abstract: วิทยานิพนธ์เรื่อง “ สัญญะแห่งสังขาร ” เป็นการแสดงออกถึงความจริงหรือสัจธรรมของชีวิตภายใต้แนวความคิดที่ว่า สรรพสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้ถาวรล้วนแล้วต้องดับสลายไปทั้งทางกายภาพและมโนภาพทางความคิด การปรุงแต่งในรูป รส กลิ่น เสียง ของมนุษย์ทำให้เกิดการยึดถือยึดมั่นในสิ่งต่างๆอันมีลักษณะเป็นทุกข์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วมนุษย์ไม่สามรถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือพยายามฝืนกฎของความจริงเหล่านี้ได้ หากแต่เข้าใจและรู้เหตุของการควบคุมและดับทุกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจก็จะทำให้ตระหนักและรู้ที่มาของสัญญะแห่งสังขาร ผลงานจิตรกรรมผสมชุดนี้สะท้อนความรู้สึกนามธรรมและแสดงให้เห็นถึงสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงของชีวิต โดยการแทนค่าความหมายของสัญญะแห่งความร่วงโรย เหตุแห่งความทุกข์ การเสื่อมสลาย เกิดและดับเป็นวัฎจักรภายใต้กฏของธรรมชาติ วิทยานิพนธ์เรื่อง “ สัญญะแห่งสังขาร ” เป็นการแสดงออกถึงความจริงหรือสัจธรรมของชีวิตภายใต้แนวความคิดที่ว่า สรรพสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้ถาวรล้วนแล้วต้องดับสลายไปทั้งทางกายภาพและมโนภาพทางความคิด การปรุงแต่งในรูป รส กลิ่น เสียง ของมนุษย์ทำให้เกิดการยึดถือยึดมั่นในสิ่งต่างๆอันมีลักษณะเป็นทุกข์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วมนุษย์ไม่สามรถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือพยายามฝืนกฎของความจริงเหล่านี้ได้ หากแต่เข้าใจและรู้เหตุของการควบคุมและดับทุกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจก็จะทำให้ตระหนักและรู้ที่มาของสัญญะแห่งสังขาร ผลงานจิตรกรรมผสมชุดนี้สะท้อนความรู้สึกนามธรรมและแสดงให้เห็นถึงสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงของชีวิต โดยการแทนค่าความหมายของสัญญะแห่งความร่วงโรย เหตุแห่งความทุกข์ การเสื่อมสลาย เกิดและดับเป็นวัฎจักรภายใต้กฏของธรรมชาติ วิทยานิพนธ์เรื่อง “ สัญญะแห่งสังขาร ” เป็นการแสดงออกถึงความจริงหรือสัจธรรมของชีวิตภายใต้แนวความคิดที่ว่า สรรพสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้ถาวรล้วนแล้วต้องดับสลายไปทั้งทางกายภาพและมโนภาพทางความคิด การปรุงแต่งในรูป รส กลิ่น เสียง ของมนุษย์ทำให้เกิดการยึดถือยึดมั่นในสิ่งต่างๆอันมีลักษณะเป็นทุกข์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วมนุษย์ไม่สามรถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือพยายามฝืนกฎของความจริงเหล่านี้ได้ หากแต่เข้าใจและรู้เหตุของการควบคุมและดับทุกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจก็จะทำให้ตระหนักและรู้ที่มาของสัญญะแห่งสังขาร ผลงานจิตรกรรมผสมชุดนี้สะท้อนความรู้สึกนามธรรมและแสดงให้เห็นถึงสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงของชีวิต โดยการแทนค่าความหมายของสัญญะแห่งความร่วงโรย เหตุแห่งความทุกข์ การเสื่อมสลาย เกิดและดับเป็นวัฎจักรภายใต้กฏของธรรมชาติ วิทยานิพนธ์เรื่อง “ สัญญะแห่งสังขาร ” เป็นการแสดงออกถึงความจริงหรือสัจธรรมของชีวิตภายใต้แนวความคิดที่ว่า สรรพสิ่งทั้งหลายไม่เที่ยงแท้ถาวรล้วนแล้วต้องดับสลายไปทั้งทางกายภาพและมโนภาพทางความคิด การปรุงแต่งในรูป รส กลิ่น เสียง ของมนุษย์ทำให้เกิดการยึดถือยึดมั่นในสิ่งต่างๆอันมีลักษณะเป็นทุกข์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วมนุษย์ไม่สามรถที่จะเปลี่ยนแปลงหรือพยายามฝืนกฎของความจริงเหล่านี้ได้ หากแต่เข้าใจและรู้เหตุของการควบคุมและดับทุกที่เกิดขึ้นภายในจิตใจก็จะทำให้ตระหนักและรู้ที่มาของสัญญะแห่งสังขาร ผลงานจิตรกรรมผสมชุดนี้สะท้อนความรู้สึกนามธรรมและแสดงให้เห็นถึงสภาวะแห่งการเปลี่ยนแปลงของชีวิต โดยการแทนค่าความหมายของสัญญะแห่งความร่วงโรย เหตุแห่งความทุกข์ การเสื่อมสลาย เกิดและดับเป็นวัฎจักรภายใต้กฏของธรรมชาติ Thesis on "signs of body" is showing the truth of life under the idea that, what they are not permanent and must break off to both physical and imagination. The flavor, taste, smell, sound in the human cause shall adhere to what the nature of suffering. In fact, the humans not to change or force the rule of this fact. But understanding and knowledge of the control and extinguish all happens inside the mind, it makes awareness and knowledge of signs of body. This Masterpiece reflects this sense abstract and demonstrate the conditions of life change. By replacing the meaning of the signs of aging. Because of distress Decay And end the cycle under the law of nature.
Description: 56001213; สาขาวิชาทัศนศิลป์ -- ภาสกร ธนานันท์
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/772
Appears in Collections:Painting Sculpture and Graphic Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56001213 ภาสกร ธนานันท์.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.