Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/977
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเล็กยินดี, ปัทมา-
dc.contributor.authorLekyindee, Pattama-
dc.date.accessioned2017-08-31T04:37:47Z-
dc.date.available2017-08-31T04:37:47Z-
dc.date.issued2558-08-29-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/977-
dc.description54262307 ; สาขาการสอนสังคมศึกษา -- ปัทมา เล็กยินดีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบซิปปา 2) เปรียบเทียบทักษะการแปลความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบ ซิปปา 3) เปรียบเทียบทักษะการตีความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยรูปแบบซิปปา 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนราษฎร์บ้ารุงวิทยา อ้าเภอดอนตูม จังหวัดนครปฐม ส้านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 ที่เรียนรายวิชา ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค จ้านวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบซิปปา เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค 3) แบบวัดทักษะการแปลความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค 4) แบบวัดทักษะการตีความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค และ 5) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ( x ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระต่อกัน (t-test for dependent) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยรูปแบบซิปปาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ทักษะการแปลความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยรูปแบบซิปปาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ทักษะการตีความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนด้วยรูปแบบซิปปาสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก The purposes of this research were to: 1) compare the learning achievement on the environment in regional of Prathomsuksa 5 students before and after the participation with using CIPPA model. 2) compare the translating skills 3) compare the interpreting skills and 4) study the opinion of Prathomsuksa 5 about the instruction with using CIPPA model. The sample consisted of 30 Prathomsuksa 5/1 students studying in the first semester during the academic year 2015 in Ratbumrungwittaya School, Dontum District, Nakhonpathom Province of the Office Nakhonpathom Primary Educational Service Area 1. The research instruments used were: 1) lesson plans using CIPPA model regarding environment in regional. 2) a learning achievement test regarding environment in regional. 3) a translating skills test regarding environment in regional. 4) a interpreting skills test regarding environment skills test regarding environment in regional. 5) a questionnaire on the opinion of Prathomsuksa 5/1 students towards the instruction with using CIPPA model. The collected data was analyzed by mean ( x ), standard deviation (S.D.), t-test for dependent and content analysis. The research findings revealed that: 1. The learning achievements of students on environment in regional at development of Prathomsuksa 5 students were higher than before at the level of .05 significance. 2. The translating skills of students on environment in regional at development of Prathomsuksa 5 students were higher than before at the level of .05 significance. 3. The interpreting skills of students on environment in regional at development of Prathomsuksa 5 students were higher than before at the level of .05 significance. 4. The opinions of Prathomsuksa 5 students towards the instruction with using CIPPA model were at the high level of agreement.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectทักษะการแปลความen_US
dc.subjectทักษะการตีความen_US
dc.subjectรูปแบบซิปปาen_US
dc.subjectสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคen_US
dc.subjectTRANSLATING SKILLSen_US
dc.subjectINTERPRETING SKILLSen_US
dc.subjectCIPPA MODELen_US
dc.subjectENVIRONMENT IN REGIONALen_US
dc.titleการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการแปลความ และทักษะการตีความ เรื่อง สิ่งแวดล้อมในภูมิภาค ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยรูปแบบซิปปาen_US
dc.title.alternativeTHE DEVELOPMENT OF LEARNING ACHIEVEMENT TRANSLATING SKILLS AND INTERPRETING SKILLS ON ENVIRONMENT IN REGIONAL OF PRATHOMSUKSA 5 STUDENTS USING CIPPA MODELen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
54262307 ปัทมา เล็กยินดี.pdf10.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.