Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพวงทัย, ปรียาภรณ์-
dc.contributor.authorPhuangtai, Preeyaphorn-
dc.date.accessioned2017-08-31T04:45:21Z-
dc.date.available2017-08-31T04:45:21Z-
dc.date.issued2560-05-11-
dc.identifier.urihttp://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/999-
dc.description57252347 ; สาขาวิชาการบริหารการศึกษา -- ปรียาภรณ์ พวงทัยen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบ 1) คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย และ 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย เมื่อจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอยของโรงเรียน 13 แห่ง ประกอบด้วยผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้ปฏิบัติหน้าที่รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียน จำนวน 13 คน และข้าราชการครู จำนวน 87 คน รวมทั้งสิ้น 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย ตามแนวคิดของวอลตัน (Walton) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1. คุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ สิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความสัมพันธ์ด้านสังคม การบูรณาการด้านสังคม จังหวะของชีวิตโดยส่วนรวม การพัฒนาความสามารถของบุคคล วิถีปฏิบัติขององค์กร ความเจริญก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน และการให้ค่าตอบแทนที่เหมาะสมและยุติธรรม ตามลำดับ 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย เมื่อจำแนกตามตำแหน่งหน้าที่ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน The purposes of this research were to determine 1) the quality of worklife of educational personnel in Chao-doi school cluster, and 2) the comparison between opinions regarding the quality of worklife of educational personnel in Chao-doi school cluster, classified by position. The samples were educational personnel in Chao–doi school cluster, consisted of 13 administrators, and 87 teachers, with the total of 100. The research instrument was a questionnaire regarding quality of worklife, based on the concept of Walton. The statistics applied in data analysis were frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, and t-test. The findings revealed as follows: 1. The quality of worklife of educational personnel in Chao-doi school cluster, overall, was at a moderate level; ranking from the highest to the lowest: safe and healthy environment, social relevance, social integration, total life space, development of human capacities, constitutionalism, growth and security and adequate and fair compensation. 2. The opinions regarding the quality of worklife of educational personnel in Chao-doi school cluster when classified by the position was not different.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศิลปากรen_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานen_US
dc.subjectQUALITY OF WORKLIFEen_US
dc.titleคุณภาพชีวิตการทำงานของบุคลากรทางการศึกษาในสหวิทยาเขตชาวดอย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3en_US
dc.title.alternativeQUALITY OF WORKLIFE OF EDUCATIONAL PERSONNEL IN CHAO – DOI SCHOOL CLUSTER UNDER SUPHANBURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57252347 ปรียาภรณ์ พวงทัย.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.