Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1876
Title: A Floating Area Design for Traveling, Case Study at Rajjaprabha, Suratthani.
การออกแบบพื้นที่ลอยน้ำสำหรับการท่องเที่ยว กรณีศึกษาเขื่อนรัชชประภา จังหวัด สุราษฎร์ธานี
Authors: Pitiporn SUKSRI
ปิติพร สุขศรี
LUI KANSOMKIETHE
ลุ้ย กานต์สมเกียรติ
Silpakorn University. Decorative Arts
Keywords: พื้นที่ลอยน้ำ
การท่องเที่ยว
FLOATING AREA
TOURISM
Issue Date:  2
Publisher: Silpakorn University
Abstract: MISS PITIPORN SUKSRI : A FLOATING AREA DESIGN FOR TOURISM, CASE STUDY AT RAJJAPRABHA DAM, SURATTHANI. ASSISTANT PROFESSOR LUI KANSOMKIAT PH.D.                     A floating area design for tourism is the main purpose of this research paper. We expect to make the product as an alternatively to tourist, to relax and spending our time together. The product designed by “Raffasia Kerri” concept. It’s the lotus plant species the largest flower in the world. This floating area is designed to be different from existing product. The design focuses on harmony with nature. Both from of work and material selection. In the area, we observed the behavior of the tourists while on the raft. The results of the questionnaire were collected from the sample group.             The results are designed as 2 approaches. “A” style of relaxation and “B” style approach to activities. It’s designed 3 sketch and prototype for expert inquiries. From the interview for the expert to take the advice for develop next prototype. Then the model developed by remining one. Interview from 100 general population to inquire about the satisfaction with the product. Qualitative and quantitative research concurrently. The data was analyzed by percentage, mean and standard deviation. The research found that Model “B” product (activity guidelines) are highly sought after by the population, the average was 4.18 (S.D.=0.79). The interest in the usability of the use, the average was 3.78 (S.D.=0.83). Product satisfaction floating area has the appearance and interior suitable for use, the average was 3.78 (S.D.=0.07). Satisfaction with the materials selected for used, the average was 3.62 (S.D.=0.08). Product floatation it can be a pleasure to relax when it comes to use, the average was 3.86 (S.D.=0.09). Satisfaction of the appearance of the floating area is harmonious and a part of nature, the average was 3.52 (S.D.=1.00)
วัตถุประสงค์ในการทำวิจัยครั้งนี้คือต้องการออกแบบพื้นที่ลอยน้ำสำหรับการท่องเที่ยว เพื่อมุ่งหวังให้ตัวผลิตภัณฑ์เป็นทางเลือกของนักท่องเที่ยวที่ไปใช้บริการที่พักได้มีกิจกรรมได้ผ่อนคลายและการใช้เวลาร่วมกัน โดยตัวผลิตภัณฑ์ถูกออกแบบภายใต้แนวคิดของดอกบัวผุด ซึ่งเป็นดอกไม้ประจำจังหวัดสุราษฎร์  และเป็นดอกไม้ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก พื้นที่ลอยน้ำนี้ก็จะออกแบบให้มีความแตกต่างจากผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ โดยการออกแบบที่มุ่งเน้นให้กลมกลืนกับธรรมชาติ ทั้งรูปแบบของงานและการเลือกใช้วัสดุ ในการลงพื้นที่เราได้เฝ้าสังเกตถึงพฤติกรรมของกลุ่มนักท่องเที่ยวทำกิจกรรมขณะอยู่บนแพที่พัก และเก็บผลจากการทำแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง จนได้ผลการออกแบบเป็น 2 แนวทาง คือ รูปแบบ A แนวทางของการพักผ่อน และ รูปแบบ B แนวทางในการทำกิจกรรม โดยทำการออกแบบมาแนวทางละ 3 แบบ และแบบจำลองผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้ในการสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญ จากการตอบแบบสอบภามพร้อมกับการสัมภาษณ์ เพื่อเอาคำแนะนำไปพัฒนางานต้นแบบต่อไป แล้วจึงนำแบบที่พัฒนาแล้วโดยเหลือแนวทางอย่างละ 1 แบบ ไปทดสอบจากกลุ่มประชากรทั่วไป 100 คนเพื่อสอบถามถึงความพึงพอใจที่มีต่อผลิตภัณฑ์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ ควบคู่กัน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ (Percentage)  ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)         ผลการวิจัยพบว่า ผลิตภัณฑ์รูปแบบ B (แนวทางในการทำกิจกรรม) เป็นรูปแบบที่ได้รับความสนใจจากกลุ่มประชากรในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.18 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.79) ด้านของความน่าสนใจในด้านของประโยชน์ใช้สอยทางด้านการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 3.78 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.83) ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์พื้นที่ลอยน้ำมีรูปลักษณ์ภายนอกและภายในเหมาะสมกับการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 3.78 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.07) ความพึงพอใจต่อวัสดุที่เลือกใช้เหมาะสมกับการใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 3.62 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.80) ความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์พื้นที่ลอยน้ำสามารถสร้างความสุขความผ่อนคลายได้เมื่อหากได้ลงไปใช้งาน มีค่าเฉลี่ย 3.86 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=0.09) ความพึงพอใจของรูปลักษณ์ของพื้นที่ลอยน้ำมีความกลมกลืนและเป็นส่วนหนึ่งกับธรรมชาติ มีค่าเฉลี่ย3.52 (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน=1.00)
Description: Master of Fine Arts (M.F.A.)
ศิลปมหาบัณฑิต (ศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1876
Appears in Collections:Decorative Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58155203.pdf6.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.