Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3374
Title: An Analysis of Bill Stewart's Improvisation in Wind Jammer, Over Big Top, The Acrobat and Jive Coffee 
วิเคราะห์การด้นสดของบิล สจ๊วตในบทเพลง Wind Jammer, Over Big Top,The Acrobat และ Jive Coffee
Authors: Thiraphon KWANGTONGPANICH
ถิรพล กวางทองพานิชย์
Saksri Vongtaradon
ศักดิ์ศรี วงศ์ธราดล
Silpakorn University. Music
Keywords: บิล สจ๊วต
การด้นสด
แนวคิดการซ้อนจังหวะ
การเปลี่ยนตำแหน่งของกลุ่มจังหวะ
Bill Stewart
Improvisation
Superimposition
Rhythmic Displacement
Issue Date:  18
Publisher: Silpakorn University
Abstract: This research aims to analyze the improvisation of Bill Stewart, a jazz drummer who has strong influence on jazz musicians. The researcher chose 4 songs called 1) Wind Jammer 2) Over Big Top 3) The Acrobat 4) Jive Coffee” to transcribe and analyze. According to the transcription and analysis, researcher categorized Stewart’s use of superimposition in 10 different ways: 1) 3/4 over 4/4 2) 3/4 over 5/4 3) 4/4 over 3/4 4) 4/4 over 5/4 5) 2 over 3 in 4/4 6) 6 over 4 7) 4 over 3 in 4/4 8) Rhythmic Displacement 9) Odd Groupings 10) Polyrhythm. The results of this analysis can lead to a better understanding of rhythmic superinposition to be used as rhythm exercises for accompaniments and improvisation.
ผลงานการวิจัยนี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์การด้นสดของบิล สจ๊วตนักกลองแจ๊สที่มีชื่อเสียง และมีอิทธิพลต่อวงการดนตรีแจ๊ส ผู้วิจัยได้เลือกบทเพลง Wind Jammer, Over Big Top, The Acrobat และ Jive Coffee ในการถอดโน้ต และวิเคราะห์การด้นสด จากการถอดโน้ต และวิเคราะห์การด้นสด ผู้วิจัยได้พบการบรรเลงแนวคิดการซ้อนจังหวะของสจ๊วต โดยแบ่งเป็น 10 วิธีดังนี้ 1) เครื่องหมายประจำจังหวะ 3/4 ซ้อนเครื่องหมายประจำจังหวะ 4/4  2) เครื่องหมายประจำจังหวะ 3/4 ซ้อนเครื่องหมายประจำจังหวะ 5/4 4/4 3) เครื่องหมายประจำจังหวะ 4/4 ซ้อนเครื่องหมายประจำจังหวะ 3/4  4) เครื่องหมายประจำจังหวะ 4/4 ซ้อนเครื่องหมายประจำจังหวะ 5/4 5) กลุ่มโน้ตตัวดำประจุด 2 กลุ่ม ใน 3 จังหวะ  6) โน้ต 6 พยางค์ ใน 4 จังหวะ  7) กลุ่มโน้ตเขบ็ต 1 ชั้นประจุด 4 พยางค์ ซ้อน 3 จังหวะ  8) การเปลี่ยนตำแหน่งของกลุ่มจังหวะ 9) การทำให้กลุ่มของโน้ตมีความผิดปกติ 10) ความหลากหลายของลักษณะจังหวะ ผลที่ได้รับจากการวิเคราะห์ครั้งนี้ ทำให้เกิดความเข้าใจด้านการซ้อนจังหวะมากยิ่งขึ้น และสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดสำหรับการบรรเลงประกอบ และการด้นสด
Description: Master of Music (M.Mus)
ดุริยางคศาสตรมหาบัณฑิต (ดศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/3374
Appears in Collections:Music

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621020006.pdf11.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.