Please use this identifier to cite or link to this item:
http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5275
Title: | ESTIMATING OF THE AGE OF BLOODSTAINS ON VARIOUS SURFACE BY UV-VISIBLE SPECTROMETRY การประมาณอายุของคราบเลือดบนพื้นผิวประเภทต่างๆ โดยเทคนิค UV-Visible Spectrometry |
Authors: | Poonyanissara CHUBSREE ปุณญณิศรา ชุบศรี Orathai Kheawpum อรทัย เขียวพุ่ม Silpakorn University Orathai Kheawpum อรทัย เขียวพุ่ม KHEAWPUM_O@SU.AC.TH KHEAWPUM_O@SU.AC.TH |
Keywords: | คราบเลือด ฮีโมโกลบิน การดูดกลืนแสง พื้นผิว UV-Visible Spectrometer Bloodstain Hemoglobin Absorbance Surface UV-Visible Spectrometer |
Issue Date: | 28 |
Publisher: | Silpakorn University |
Abstract: | The human bloodstains are important piece of forensics evidence often found in serious crimes. This study explored the use of absorption spectral analysis in the estimation of the age of bloodstains on various types of substates namely; artificial leather, cotton, steel plate, brown cardboard, plastic, tiles, wood and glass. Blood samples were collected from a donor and were used freshly in all experiments without any pretreatment. The sample was prepared by placing the bloodstain on all of selected substates and kept at ambient temperature for various periods of time. The results demonstrate that upon aging, decreasing in the absorbance value of oxyhemoglobin peak (l = 540 and 570 nm) was observed, illustrating a clear distinction between fresh and old bloodstains. The data were used to construct calibration graphs of absorbance values of the oxyhemoglobin at the wavelength of 540 nm and the bloodstain ages. The results have demonstrated that the spectral analysis may be used to estimate the age of bloodstains on various types of substrates and the method was suitable for samples having the age range of 1 to 48 hours. คราบเลือดของมนุษย์เป็นวัตถุพยานที่สำคัญในทางนิติวิทยาศาสตร์ซึ่งมักพบในการเกิดอาชญากรรมที่เกี่ยวกับร่างกาย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิเคราะห์สเปกตรัมการดูดกลืนแสงของเลือดในการประมาณอายุของคราบเลือดบนพื้นที่ผิวประเภทต่างๆ ได้แก่ หนังหุ้มเบาะรถ ผ้า แผ่นเหล็ก กระดาษ พลาสติก แผ่นกระเบื้อง ไม้ และแผ่นกระจก ซึ่งจะใช้ตัวอย่างเลือดจากอาสาสมัครในการนำไปทำการทดลอง โดยทำการหยดคราบเลือดลงบนพื้นที่ผิวและตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้องในระยะเวลาต่างๆ ซึ่งพบว่าเมื่อคราบเลือดมีอายุมากขึ้นค่าการดูดกลืนแสงสูงสุดของออกซีฮีโมโกลบินจะลดลง (l = 540 และ 570 นาโนเมตร) แสดงให้เห็นถึงความแตกต่างอย่างชัดเจนระหว่างคราบเลือดสดและคราบเลือดที่เวลาผ่านไป จากข้อมูลนี้จึงนำมาใช้สร้างกราฟเปรียบเทียบระหว่างค่าการดูดกลืนแสงของออกซีฮีโมโกลบินที่ความยาวคลื่น 540 นาโนเมตรและอายุของคราบเลือด โดยผลการวิจัยพบว่าการวิเคราะห์สเปกตรัมอาจใช้ในการประมาณอายุของคราบเลือดบนพื้นผิวประเภทต่างๆ ได้ และวิธีนี้เหมาะสำหรับคราบเลือดที่มีอายุตั้งแต่ 1 ถึง 48 ชั่วโมง |
URI: | http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/5275 |
Appears in Collections: | Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
650720022.pdf | 2.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.