Please use this identifier to cite or link to this item: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1149
Title: Islamic Motifs In The Artworks of Rajchaburana Temple, Ayutthaya
ลวดลายอิสลามในงานศิลปกรรมวัดราชบูรณะ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Authors: Saowapak SUWANRUEANG
เสาวภาคย์ สุวรรณเรือง
Sakchai Saisingha
ศักดิ์ชัย สายสิงห์
Silpakorn University. Archaeology
Keywords: ลวดลายมุสลิม
ศิลปะอิสลาม
วัดราชบูรณะ
อยุธยา
เครื่องทอง
MUSLIM INFLUENCES
FLORAL PATTERN DESIGN
GOLDEN ORNAMENTS
WAT RATCHABURANA
AYUTTHAYA
ISLAMIC ART
Issue Date:  17
Publisher: Silpakorn University
Abstract: From the study of pattern designs at Wat Ratchaburana prang since the early Ayutthaya, it can be concluded that Muslims had come to do business with Ayutthaya already. The patterns found are original Islamic designs such as the interlacing design in geometry patterns and alphabet designs. These designs were in the Arab Alphabets which had nothing to do with the faith and belief of Islam. However, it mainly focused on the modernized patterns that had never been found in any art object in early Ayutthaya. Art works that were influenced by Islam appeared in jewelry, mural, and stucco works. Some of the patterns were different from Islamic art works and were assumed to be developed from Chinese art works.  
จากการศึกษาตัวอย่างรูปแบบลวดลายของศิลปกรรมที่ปรางค์ประธานวัดราชบูรณะ พบว่าในสมัยอยุธยาตอนต้นสันนิษฐานว่ามีชาวมุสลิม ได้เข้ามาติดต่อทำการค้าหรือเชื่อมสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีอยุธยาบ้างแล้ว โดยลวดลายที่ปรากฏขึ้นในงานนั้นมีทั้งรูปแบบของลวดลายที่เป็นลายแบบอิสลามโดยตรง ได้แก่ การทำลวดลายในแบบลายเรขาคณิต เช่น ลายขัดสาน ลายสอดสาน และ ลายอักษรวิจิตร ที่เป็นตัวอักษรภาษาอาหรับ ซึ่งไม่ได้มีความหมายเกี่ยวกับความศรัทธาตามหลักศาสนาอิสลาม แต่กลับมุ่งเน้นในประเด็นเรื่องความแปลกใหม่ของลวดลายที่ไม่เคยปรากฏมาก่อนของงานศิลปวัตถุในสมัยอยุธยาตอนต้น ในส่วนของงานศิลปกรรมที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอิสลามปรากฏอยู่ในลวดลายเครื่องประดับ จิตรกรรม และการประดับลวดลายปูนปั้น โดยในบางลวดลายที่พบนั้น ได้มีการพัฒนารูปแบบลวดลายที่แตกต่างออกไปจากงานศิลปกรรมในศิลปะอิสลาม ทั้งนี้สันนิษฐานว่าได้ถูกส่งผ่านมาจากงานศิลปะอื่นๆ เช่น ศิลปะจีน เป็นต้น  
Description: Master of Arts (M.A.)
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.)
URI: http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/1149
Appears in Collections:Archaeology

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
56107319.pdf4.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.